132
การแก้ไข
(สร้างหน้าด้วย "แป้งที่สกัดเอาเยื่อใยออกแล้วใช้เป็นส่วนประกอบของอาห...") |
|||
บรรทัดที่ 3: | บรรทัดที่ 3: | ||
1. แป้งดิบหรือแป้งมันสำปะหลังดิบ (native starch) เป็นแป้งที่ได้จากหัวมันสดด้วยขบวนการแยกกากโปรตีน และองค์ประกอบอื่น ๆ ปัจจุบันมีโรงงานประมาณ 85 โรงงาน ทั่วประเทศไทย มีกำลังการผลิตรวมทั้งสิ้น 2 - 2.5 ล้านต้นต่อปี มีผลผลิตเฉลี่ยทั้งอุตสาหกรรม ประมาณ 1.76 ล้านตันต่อปี | 1. แป้งดิบหรือแป้งมันสำปะหลังดิบ (native starch) เป็นแป้งที่ได้จากหัวมันสดด้วยขบวนการแยกกากโปรตีน และองค์ประกอบอื่น ๆ ปัจจุบันมีโรงงานประมาณ 85 โรงงาน ทั่วประเทศไทย มีกำลังการผลิตรวมทั้งสิ้น 2 - 2.5 ล้านต้นต่อปี มีผลผลิตเฉลี่ยทั้งอุตสาหกรรม ประมาณ 1.76 ล้านตันต่อปี | ||
2. แป้งมันสำปะหลังดัดแปร (modified starch) ได้จากการนำแป้งมันสำปะหลังดิบมาเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางโมเลกุลให้เหมาะสมกับการใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ โดยปกติการผลิตแป้งมันสำปะหลังแปรรูปใช้อัตราแป้งดิบ 1 กิโลกรัม ได้แป้งแปรรูป 0.93 กิโลกรัม | 2. แป้งมันสำปะหลังดัดแปร (modified starch) ได้จากการนำแป้งมันสำปะหลังดิบมาเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางโมเลกุลให้เหมาะสมกับการใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ โดยปกติการผลิตแป้งมันสำปะหลังแปรรูปใช้อัตราแป้งดิบ 1 กิโลกรัม ได้แป้งแปรรูป 0.93 กิโลกรัม | ||
* '''แป้งข้าวเหนียวมันสำปะหลัง (waxy cassava)''' : ศูนย์เกษตรเขตร้อนนานาชาติ (CIAT) ได้พัฒนาเพิ่มมูลค่าของพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อเพิ่มโอกาสในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ โดยไม่เน้นเพียงการเพิ่มหรือรักษาเสถียรภาพของการผลิตแต่เป็นการพัฒนาลักษณะต่าง ๆ ให้ตรงกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม เช่น การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังที่มีโปรตีนสูงสำหรับผลิตเป็นอาหารสัตว์ การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังที่เป็นแป้งข้าวเหนียว (waxy starch) ใช้สำหรับอุตสาหกรรมแป้ง ซึ่งทางศูนย์เกษตรเขตร้อนนานาชาติ (CIAT) มองว่าอุตสาหกรรมแป้งข้าวเหนียว (waxy starch) จะเป็นอุตสาหกรรมที่กอให้เกิดการเพิ่มมูลค่าทางเศณษฐกิจแก่ประเทศไทย (สุดเขตต์, 2552) โดยแป้ง waxy ได้จากการนำแป้งไปต้มจนอุณหภูมิสูงกว่าอุณหภูมิข้นใส (gelatinization temperature) เม็ดแป้งจะพองตัวตามการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิ การพองตัวและการทำลาย (disruption) ของเมล็ดแป้งเป็นเทคโนโลยีที่สำคัญอย่างหนึ่ง โดยวิธีที่ดีที่สุดที่ใช้เปลี่ยนแปลงความหนืดในระหว่างต้มแป้ง คือการใช้เครื่องวัดความหนืด (Rapid visco amylograph เรียกย่อว่า RVA) โดยมีหลักการในการวัดความหนืดของแป้งพร้อมการกวนตลอดเวลา ขณะที่ให้ความร้อนในอัตราอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอ แล้วทิ้งไว้ที่อุณหภูมิที่ต้องการระยะหนึ่ง แล้วทำให้เย็นลงโดยการลดอุณหภูมิในอัตราที่ลดลงอย่างสม่ำเสมอเช่นเดียวกัน (อรพิน, 2533) จากนั้นนำมาวัดความหนืดแป้ง ยิ่งแป้งมีความหนืดมากราคาก็จะดีตามไปด้วย | |||
---- | |||
=== '''ประโยชน์จากแป้งมันสำปะหลัง วิจารณ์ และคณะ (2542)''' === | === '''ประโยชน์จากแป้งมันสำปะหลัง วิจารณ์ และคณะ (2542)''' === | ||
บรรทัดที่ 23: | บรรทัดที่ 27: | ||
9. การใช้แป้งในส่วนอื่น ๆ เช่น ในการผลิตยาเม็ด | 9. การใช้แป้งในส่วนอื่น ๆ เช่น ในการผลิตยาเม็ด | ||
---- |
การแก้ไข