223
การแก้ไข
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
=== '''มันสำปะหลังที่พัฒนาโดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์''' === | |||
[[เกษตรศาสตร์ 50]] | |||
[[เกษตรศาสตร์ 72]] | |||
[[ห้วยบง 60]] | |||
[[ห้วยบง 80]] | |||
[[ห้วยบง 90]] | |||
=== '''มันสำปะหลังที่พัฒนาโดยกรมวิชาการเกษตร''' === | |||
[[ระยอง 1]] | |||
[[ระยอง 5]] | |||
[[ระยอง 72]] | |||
[[ระยอง 90]] | |||
[[ระยอง 9]] | |||
[[ระยอง 11]] | |||
[[ระยอง 7]] | |||
[[ระยอง 86-13]] | |||
มันสำปะหลัง (ชื่อวิทยาศาสตร์: ''Manihot esculenta'' (L.) Crantz) เป็นพืชหัวชนิดหนึ่ง มีชื่อเรียกทั่วไปในภาษาอังกฤษว่า แคสซาวา (Cassava) หรือทาปิโอก้า (Tapioca) ประเทศแถบแอฟริกาเรียกชื่อภาษาฝรั่งเศสว่า แมนิออค (Manioc) มีถิ่นกำเนิดในอเมริกาใต้ ซึ่งมีการปลูกมันสำปะหลังมา 3,000 ถึง 7,000 ปีต่อมาได้ขยายไปสู่แหล่งอื่นๆ สำหรับประเทศไทยนั้นไม่มีหลักฐานที่แน่ชัดว่ามีการนำมันสำปะหลังเข้ามาปลูกเมื่อใด แต่คาดว่ามีการนำมันสำปะหลังมาจากประเทศมาเลเซียเมื่อปี พ.ศ.2329 โดยมีชื่อเรียกในระยะต่อมาว่า มันไม้และมันสำโรง <ref name=":0">มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. สืบค้นเมื่อ 5 มิถุนายน 2564. จาก https://www.tapiocathai.org/C.html</ref> | มันสำปะหลัง (ชื่อวิทยาศาสตร์: ''Manihot esculenta'' (L.) Crantz) เป็นพืชหัวชนิดหนึ่ง มีชื่อเรียกทั่วไปในภาษาอังกฤษว่า แคสซาวา (Cassava) หรือทาปิโอก้า (Tapioca) ประเทศแถบแอฟริกาเรียกชื่อภาษาฝรั่งเศสว่า แมนิออค (Manioc) มีถิ่นกำเนิดในอเมริกาใต้ ซึ่งมีการปลูกมันสำปะหลังมา 3,000 ถึง 7,000 ปีต่อมาได้ขยายไปสู่แหล่งอื่นๆ สำหรับประเทศไทยนั้นไม่มีหลักฐานที่แน่ชัดว่ามีการนำมันสำปะหลังเข้ามาปลูกเมื่อใด แต่คาดว่ามีการนำมันสำปะหลังมาจากประเทศมาเลเซียเมื่อปี พ.ศ.2329 โดยมีชื่อเรียกในระยะต่อมาว่า มันไม้และมันสำโรง <ref name=":0">มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. สืบค้นเมื่อ 5 มิถุนายน 2564. จาก https://www.tapiocathai.org/C.html</ref> | ||
{| class="wikitable" | {| class="wikitable" | ||
บรรทัดที่ 33: | บรรทัดที่ 61: | ||
หน่วยงานที่มีบทบาทในการพัฒนาพันธุ์มันสำปะหลัง ได้แก่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และกรมวิชาการเกษตร ได้จำแนกพันธุ์มันสำปะหลังในประเทศไทย ตามลักษณะของสี รูปร่าง ลักษณะทรงต้น ใบ และ การแตกกิ่ง โดยลักษณะเด่นที่สามารถใช้จำแนกพันธุ์ในปัจจุบัน มีดังนี้ | หน่วยงานที่มีบทบาทในการพัฒนาพันธุ์มันสำปะหลัง ได้แก่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และกรมวิชาการเกษตร ได้จำแนกพันธุ์มันสำปะหลังในประเทศไทย ตามลักษณะของสี รูปร่าง ลักษณะทรงต้น ใบ และ การแตกกิ่ง โดยลักษณะเด่นที่สามารถใช้จำแนกพันธุ์ในปัจจุบัน มีดังนี้ | ||
== '''ลักษณะเด่นที่ใช้จำแนกพันธุ์'''<ref>กรมวิชาการเกษตร. 2552. การจำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง. โรงพิมพ์สำนักงานพุทธศาสนาแห่งชาติ.</ref><ref>กรมส่งเสริมการเกษตร. 2558. คู่มือการจำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง. บริษัท ซัน แพคเกจจิ้ง (2014) จำกัด.</ref> == | == '''ลักษณะเด่นที่ใช้จำแนกพันธุ์'''<ref>กรมวิชาการเกษตร. 2552. การจำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง. โรงพิมพ์สำนักงานพุทธศาสนาแห่งชาติ.</ref><ref>กรมส่งเสริมการเกษตร. 2558. คู่มือการจำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง. บริษัท ซัน แพคเกจจิ้ง (2014) จำกัด.</ref> == | ||
การแก้ไข