ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคใบด่างมันสำปะหลัง"

บรรทัดที่ 15: บรรทัดที่ 15:




== ลักษณะอาการ ==
== '''ลักษณะอาการ''' ==
ต้นมันสำปะหลังที่เป็นโรคจะแสดงอาการ ใบด่างเหลืองและบิดงอเสียรูปทรง อาการด่างมีหลายแบบ เช่น ด่างเขียวซีดสลับเขียวเข้ม ด่างเหลือสลับเขียว ใบหงิก หรือ หงิกเหลือง ใบย่อยบิดเบี้ยวหงิกงอ โค้งเสียรูปทรง ใบอ่อนและใบที่เจริญใหม่มีขนาดเล็กลง ยอดหงิก ต้นแคระแกร็น เจริญเติบโตได้ช้า หัวมีขนาดเล็กกว่าปกติ โดยมีลักษณะที่สังเกตได้ง่ายที่สุดอยู่ที่ใบ โดยใบของต้นมันสำปะหลังจะหงิกงอ พื้นใบไม่เรียบ สีออกด่างเขียวสลับกับเหลือง ลักษณะความรุนแรงของอาการขึ้นอยู่กับอายุของต้นมันสำปะหลังขณะที่เชื้อเข้าทำลาย หากต้นมันสำปะหลังมีอายุน้อย จะพบอาการรุนแรงและชัดเจน หากต้นมันสำปะหลังได้รับเชื้อไว้รัสเมื่ออายุมาก อาการของโรคจะไม่รุนแรง ผลผลิตหัวสดอาจไม่ลดลงมาก นอกจากนี้ระดับความรุนแรงของโรคยังขึ้นอยู่กับพันธุ์มันสำปะหลังที่ปลูกอีกด้วย (<ref>ปิยะ กิตติภาดากุล, อัญชนา ท่านเจริญ, วันวิสา ศิริวรรณ์ และ สมบุญ ภาณุวัฒน์สุข.  2562.  ไทยอาจต้องเลิกปลูกมันสำปะหลังหากไม่สามารถหยุดโรคใบด่างมันสำปะหลังได้ (ตอนที่ 1). เคหการเกษตร. 43(7): 171-174.</ref>)
ต้นมันสำปะหลังที่เป็นโรคจะแสดงอาการ ใบด่างเหลืองและบิดงอเสียรูปทรง อาการด่างมีหลายแบบ เช่น ด่างเขียวซีดสลับเขียวเข้ม ด่างเหลือสลับเขียว ใบหงิก หรือ หงิกเหลือง ใบย่อยบิดเบี้ยวหงิกงอ โค้งเสียรูปทรง ใบอ่อนและใบที่เจริญใหม่มีขนาดเล็กลง ยอดหงิก ต้นแคระแกร็น เจริญเติบโตได้ช้า หัวมีขนาดเล็กกว่าปกติ โดยมีลักษณะที่สังเกตได้ง่ายที่สุดอยู่ที่ใบ โดยใบของต้นมันสำปะหลังจะหงิกงอ พื้นใบไม่เรียบ สีออกด่างเขียวสลับกับเหลือง ลักษณะความรุนแรงของอาการขึ้นอยู่กับอายุของต้นมันสำปะหลังขณะที่เชื้อเข้าทำลาย หากต้นมันสำปะหลังมีอายุน้อย จะพบอาการรุนแรงและชัดเจน หากต้นมันสำปะหลังได้รับเชื้อไว้รัสเมื่ออายุมาก อาการของโรคจะไม่รุนแรง ผลผลิตหัวสดอาจไม่ลดลงมาก นอกจากนี้ระดับความรุนแรงของโรคยังขึ้นอยู่กับพันธุ์มันสำปะหลังที่ปลูกอีกด้วย (<ref>ปิยะ กิตติภาดากุล, อัญชนา ท่านเจริญ, วันวิสา ศิริวรรณ์ และ สมบุญ ภาณุวัฒน์สุข.  2562.  ไทยอาจต้องเลิกปลูกมันสำปะหลังหากไม่สามารถหยุดโรคใบด่างมันสำปะหลังได้ (ตอนที่ 1). เคหการเกษตร. 43(7): 171-174.</ref>)
[[ไฟล์:Image2.png|thumb|แสดงลักษณะอาการโรคใบด่างมันสำปะหลัง]]
[[ไฟล์:Image2.png|thumb|แสดงลักษณะอาการโรคใบด่างมันสำปะหลัง]]
บรรทัดที่ 23: บรรทัดที่ 23:




== การประเมินโรค ==
== '''การประเมินโรค''' ==
การประเมินโรคใบด่างมันสำปะหลังมีการประเมินอัตราการเกิดโรคในมันสำปะหลังที่มีอายุ 1 เดือน และทำการประเมินทุกเดือนจนกระทั่งมันสำปะหลังมีอายุครบ 4 เดือน การประเมินโรคทำโดยสำรวจมันสำปะหลังทุต้น จดบันทึกจำนวนต้นที่เป็นโรค ลักษณะอาการ ระดับความรุนแรง สาเหตุการติดเชื้อไวรัส (ท่อนพันธุ์หรือแมลงหวี่ขาว) โดยอ้างอิงจาก (<ref>Waller, J.M., J.M. Lenné and S.J. Waller. 2002. Plant Pathologist’s Pocketbook. CABI Pub., New York, USA. 528 pp. (การประเมินโรค)</ref>)
การประเมินโรคใบด่างมันสำปะหลังมีการประเมินอัตราการเกิดโรคในมันสำปะหลังที่มีอายุ 1 เดือน และทำการประเมินทุกเดือนจนกระทั่งมันสำปะหลังมีอายุครบ 4 เดือน การประเมินโรคทำโดยสำรวจมันสำปะหลังทุต้น จดบันทึกจำนวนต้นที่เป็นโรค ลักษณะอาการ ระดับความรุนแรง สาเหตุการติดเชื้อไวรัส (ท่อนพันธุ์หรือแมลงหวี่ขาว) โดยอ้างอิงจาก (<ref>Waller, J.M., J.M. Lenné and S.J. Waller. 2002. Plant Pathologist’s Pocketbook. CABI Pub., New York, USA. 528 pp. (การประเมินโรค)</ref>)
[[ไฟล์:Image3.png|thumb|แสดงระดับความรุนแรงของโรค 5 ระดับ ]]
[[ไฟล์:Image3.png|thumb|แสดงระดับความรุนแรงของโรค 5 ระดับ ]]
บรรทัดที่ 32: บรรทัดที่ 32:
       ระดับความรุนแรงของโรค (Disease severity) อ้างอิงจาก Terry (1976) <ref>Terry,  E.  1976.  Description  and evaluation  of  cassava mosaic  disease  in Africa. In  Proc.  An Interdisciplinary Workshop. Ibadan, Nigeria. pp. 53–54. (ระดับความรุนแรงโรค)</ref>ซึ่งแบ่งระดับความรุนแรงออกเป็น 5 ระดับ คือ ระดับ 1 ไม่แสดงอาการของโรค (Highly resistant) ระดับ 2 แสดงอาการด่างเล็กน้อยบนแผ่นใบ (Moderately resistant) ระดับ 3 แสดงอาการด่างเต็มบนแผ่นใบ และใบเริ่มม้วน ลดรูป (Tolerant) ระดับ 4  แสดงอาการด่างทั่วทั้งใบ  ใบบิดม้วนงอ เริ่มลดรูป (Susceptible) และระดับ 5 แสดงอาการใบบิดม้วนงอ ใบลดรูปอย่างรุนแรง (Highly susceptible) (<ref>วันวิสา ศิริวรรณ์.  2561.  โรคไวรัสใบด่างมันสำปะหลัง. ที่มา: <nowiki>https://www.tapiocathai.org/P.html</nowiki>. วันที่สืบค้น 11 กุมภาพันธ์ 2563.</ref>)
       ระดับความรุนแรงของโรค (Disease severity) อ้างอิงจาก Terry (1976) <ref>Terry,  E.  1976.  Description  and evaluation  of  cassava mosaic  disease  in Africa. In  Proc.  An Interdisciplinary Workshop. Ibadan, Nigeria. pp. 53–54. (ระดับความรุนแรงโรค)</ref>ซึ่งแบ่งระดับความรุนแรงออกเป็น 5 ระดับ คือ ระดับ 1 ไม่แสดงอาการของโรค (Highly resistant) ระดับ 2 แสดงอาการด่างเล็กน้อยบนแผ่นใบ (Moderately resistant) ระดับ 3 แสดงอาการด่างเต็มบนแผ่นใบ และใบเริ่มม้วน ลดรูป (Tolerant) ระดับ 4  แสดงอาการด่างทั่วทั้งใบ  ใบบิดม้วนงอ เริ่มลดรูป (Susceptible) และระดับ 5 แสดงอาการใบบิดม้วนงอ ใบลดรูปอย่างรุนแรง (Highly susceptible) (<ref>วันวิสา ศิริวรรณ์.  2561.  โรคไวรัสใบด่างมันสำปะหลัง. ที่มา: <nowiki>https://www.tapiocathai.org/P.html</nowiki>. วันที่สืบค้น 11 กุมภาพันธ์ 2563.</ref>)


== การแพร่ระบาด ==
== '''การแพร่ระบาด''' ==
การแพร่ระบาดของโรคใบด่างมันสําปะหลังสามารถถ่ายทอดผ่านทางแมลงหวี่ขาวยาสูบ (Whitefly; Bemisia  tabaci (Gennadius) Hemiptera: Aleyrodidae) ซึ่งเป็นการถ่ายทอดไวรัสแบบ  persistent  และท่อนพันธุ์ที่เป็นโรค  (<ref>Dubern J, 1994. Transmission of African cassava mosaic geminivirus by the whitefly (Bemisia tabaci). Tropical Science, 34(1):82-91</ref>) การแพร่กระจายของโรคสามารถเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว  และเป็นบริเวณกว้าง จะเกิดขึ้นเมื่อมีการเคลื่อนย้ายท่อนพันธุ์ที่เป็นโรคร่วมกับการแพร่กระจายของแมลงหวี่ขาว รายงานพบว่า ในแมลงหวี่ขาวเคลื่อนที่ได้โดยอาศัยแรงลมในอัตรา  100 กิโลเมตรต่อปี  หรือ  0.2 เมตรต่อวินาที (Legg,  2010) แมลงหวี่ขาวเป็นแมลงศัตรูพืชที่มีพืชอาศัยกว้าง เช่น กะเพรา โหระพา ผักชีฝรั่ง พืชตระกูลพริก มะเขือ มันฝรั่ง และพืชตระกูลแตง (Shah and Liu, 2013) เป็นต้น และถูกจัดว่าติดอันดับ 1 ใน 10 ของแมลงศัตรูพืชที่อันตรายที่สุด  (Riordan,  2019)
การแพร่ระบาดของโรคใบด่างมันสําปะหลังสามารถถ่ายทอดผ่านทางแมลงหวี่ขาวยาสูบ (Whitefly; Bemisia  tabaci (Gennadius) Hemiptera: Aleyrodidae) ซึ่งเป็นการถ่ายทอดไวรัสแบบ  persistent  และท่อนพันธุ์ที่เป็นโรค  (<ref>Dubern J, 1994. Transmission of African cassava mosaic geminivirus by the whitefly (Bemisia tabaci). Tropical Science, 34(1):82-91</ref>) การแพร่กระจายของโรคสามารถเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว  และเป็นบริเวณกว้าง จะเกิดขึ้นเมื่อมีการเคลื่อนย้ายท่อนพันธุ์ที่เป็นโรคร่วมกับการแพร่กระจายของแมลงหวี่ขาว รายงานพบว่า ในแมลงหวี่ขาวเคลื่อนที่ได้โดยอาศัยแรงลมในอัตรา  100 กิโลเมตรต่อปี  หรือ  0.2 เมตรต่อวินาที (Legg,  2010) แมลงหวี่ขาวเป็นแมลงศัตรูพืชที่มีพืชอาศัยกว้าง เช่น กะเพรา โหระพา ผักชีฝรั่ง พืชตระกูลพริก มะเขือ มันฝรั่ง และพืชตระกูลแตง (Shah and Liu, 2013) เป็นต้น และถูกจัดว่าติดอันดับ 1 ใน 10 ของแมลงศัตรูพืชที่อันตรายที่สุด  (Riordan,  2019)


บรรทัดที่ 61: บรรทัดที่ 61:
4.3 เฝ้าระวังการระบาด ของไวรัส ใบด่างในพืชอาศัยอื่นๆ ที่มีแมลงหวี่ขาวยาสูบเป็นพาหะ โดยหลีกเลี่ยงการปลูกพืชอาศัยของแมลงหวี่ขาวยาสูบ เช่น โหระพา กะเพรา ผักชีฝรั่ง พริก มะเขือ มันฝรั่ง และพืชตระกูลถั่ว และพืชอาศัยของเชื้อไวรัสใบด่างมันสำปะหลัง เช่น สบู่ดำ ละหุ่ง บริเวณแปลงปลูกมันสำปะหลัง (ปิยะ และคณะ 2562<ref>ปิยะ กิตติภาดากุล, อัญชนา ท่านเจริญ, วันวิสา ศิริวรรณ์ และ สมบุญ ภาณุวัฒน์สุข.  2562.  ไทยอาจต้องเลิกปลูกมันสำปะหลังหากไม่สามารถหยุดโรคใบด่างมันสำปะหลังได้ (ตอนที่ 1). เคหการเกษตร. 43(7): 171-174.</ref> )
4.3 เฝ้าระวังการระบาด ของไวรัส ใบด่างในพืชอาศัยอื่นๆ ที่มีแมลงหวี่ขาวยาสูบเป็นพาหะ โดยหลีกเลี่ยงการปลูกพืชอาศัยของแมลงหวี่ขาวยาสูบ เช่น โหระพา กะเพรา ผักชีฝรั่ง พริก มะเขือ มันฝรั่ง และพืชตระกูลถั่ว และพืชอาศัยของเชื้อไวรัสใบด่างมันสำปะหลัง เช่น สบู่ดำ ละหุ่ง บริเวณแปลงปลูกมันสำปะหลัง (ปิยะ และคณะ 2562<ref>ปิยะ กิตติภาดากุล, อัญชนา ท่านเจริญ, วันวิสา ศิริวรรณ์ และ สมบุญ ภาณุวัฒน์สุข.  2562.  ไทยอาจต้องเลิกปลูกมันสำปะหลังหากไม่สามารถหยุดโรคใบด่างมันสำปะหลังได้ (ตอนที่ 1). เคหการเกษตร. 43(7): 171-174.</ref> )


== วิธีการผลิตท่อนพันธุ์สะอาด ==
== '''วิธีการผลิตท่อนพันธุ์สะอาด''' ==
การทำแปลงมันสำปะหลังปลอดโรค
การทำแปลงมันสำปะหลังปลอดโรค


ในการทำแปลงปลอดโรคใบด่างมันสำปะหลังมีวิธีการดังนี้
ในการทำแปลงปลอดโรคใบด่างมันสำปะหลังมีวิธีการดังนี้


=== -       การเลือกพันธุ์มันสำปะหลัง ===
=== การเลือกพันธุ์มันสำปะหลัง ===
o  ก่อนอื่นควรเลือกใช้พันธุ์มันสำปะหลังที่เป็นโรคน้อยกว่าพันธุ์อื่นๆหรือเรียกอีกอย่างว่าพันธุ์ทนทาน เช่น พันธุ์เกษตรศาสตร์ 50  ระยอง 72 เป็นต้น โดยจะหลีกเลี่ยงการใช้พันธุ์ที่อ่อนแอต่อโรค เช่น CMR89 ระยอง 11 เป็นต้น


=== -       การคัดท่อนพันธุ์ปลอดโรค ===
* ก่อนอื่นควรเลือกใช้พันธุ์มันสำปะหลังที่เป็นโรคน้อยกว่าพันธุ์อื่นๆหรือเรียกอีกอย่างว่าพันธุ์ทนทาน เช่น พันธุ์เกษตรศาสตร์ 50  ระยอง 72 เป็นต้น โดยจะหลีกเลี่ยงการใช้พันธุ์ที่อ่อนแอต่อโรค เช่น CMR89 ระยอง 11 เป็นต้น
o  จากนั้นทำการตรวจสอบการเกิดโรคใบด่างมันสำปะหลังในท่อนพันธุ์ โดยรอให้ใบอ่อนเกิดขึ้นก่อน จากนั้นทำการสังเกตลักษณะใบอ่อนหากไม่มีการแสดงอาการของโรคใบด่าง ที่เกิดอาการใบด่าง หงิกงอ หรือบิดเบี้ยวเสียรูป แสดงว่าท่อนพันธุ์ดังกล่าวปลอดโรคสามารถใช้เป็นท่อนพันธุ์เพื่อปลูกในฤดูกาลถัดไปได้


=== -      การเตรียมท่อนพันธุ์ก่อนปลูก ===
=== การคัดท่อนพันธุ์ปลอดโรค ===
 
* จากนั้นทำการตรวจสอบการเกิดโรคใบด่างมันสำปะหลังในท่อนพันธุ์ โดยรอให้ใบอ่อนเกิดขึ้นก่อน จากนั้นทำการสังเกตลักษณะใบอ่อนหากไม่มีการแสดงอาการของโรคใบด่าง ที่เกิดอาการใบด่าง หงิกงอ หรือบิดเบี้ยวเสียรูป แสดงว่าท่อนพันธุ์ดังกล่าวปลอดโรคสามารถใช้เป็นท่อนพันธุ์เพื่อปลูกในฤดูกาลถัดไปได้
 
=== การเตรียมท่อนพันธุ์ก่อนปลูก ===
ควรแช่ท่อนพันธุ์ด้วยสารเคมี เช่น  
ควรแช่ท่อนพันธุ์ด้วยสารเคมี เช่น  


ไทอะมีโทแซม 25% อัตรา 4 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร
* ไทอะมีโทแซม 25% อัตรา 4 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร


อิมิดาโคลพิด 70% WG อัตรา 4 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร
* อิมิดาโคลพิด 70% WG อัตรา 4 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร


ไดโนทีฟูเรน 10%WG อัตรา 40 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร
* ไดโนทีฟูเรน 10%WG อัตรา 40 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร


เป็นเวลานาน 5-10 นาที เพื่อป้องกันกำจัดแมลงที่อาจติดมากับท่อนพันธุ์ และช่วยป้องกันแมลง เช่นแมลงหวี่ขาวเข้ามาทำลายได้ประมาณ 1 เดือน
เป็นเวลานาน 5-10 นาที เพื่อป้องกันกำจัดแมลงที่อาจติดมากับท่อนพันธุ์ และช่วยป้องกันแมลง เช่นแมลงหวี่ขาวเข้ามาทำลายได้ประมาณ 1 เดือน


=== -       การสำรวจแปลงมันสำปะหลัง ===
=== การสำรวจแปลงมันสำปะหลัง ===
ในการสำรวจแปลงมันสำปะหลังเพื่อตรวจสอบการมีโรคใบด่างมันสำปะหลังในแปลงปลูก ควรหมั่นเข้าตรวจโรคใบด่างเสมอ เมื่อพบอาการของโรคให้รีบทำลายทันที การสำรวจแปลงควรดำเนินการดังนี้
ในการสำรวจแปลงมันสำปะหลังเพื่อตรวจสอบการมีโรคใบด่างมันสำปะหลังในแปลงปลูก ควรหมั่นเข้าตรวจโรคใบด่างเสมอ เมื่อพบอาการของโรคให้รีบทำลายทันที การสำรวจแปลงควรดำเนินการดังนี้


บรรทัดที่ 94: บรรทัดที่ 96:
หากพบแมลงหวี่ขาวเฉลี่ยมากกว่า 3 ตัวต่อต้นทำการฉีดพ่นด้วยสารเคมี  
หากพบแมลงหวี่ขาวเฉลี่ยมากกว่า 3 ตัวต่อต้นทำการฉีดพ่นด้วยสารเคมี  


ไทอะมีโทแซม 25% อัตรา 12 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร
* ไทอะมีโทแซม 25% อัตรา 12 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร


อิมิดาโคลพิด 70% WG อัตรา 12 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร
* อิมิดาโคลพิด 70% WG อัตรา 12 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร


ไดโนทีฟูเรน 10%WG อัตรา 40 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร
* ไดโนทีฟูเรน 10%WG อัตรา 40 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร


บนต้นมันสำปะหลังในแปลงที่พบใบด่างและแปลงข้างเคียง (พรศักดิ์, 2562<ref>พรศักดิ์ เอี่ยมนาคะ.  2562.  การผลิตต้นพันธุ์ปลอดโรค. ในการฝึกอบรมวิทยากรถ่ายทอดข้อมูลโรคใบด่างมันสำปะหลัง และเปิดโครงการขยายพันธุ์แบบเร่งรัด X20 และ X80 โดยมูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย. วันที่ 13 ธันวาคม 2562 สถาบันพัฒนามันสำปะหลัง. นครราชสีมา.</ref>)
บนต้นมันสำปะหลังในแปลงที่พบใบด่างและแปลงข้างเคียง (พรศักดิ์, 2562<ref>พรศักดิ์ เอี่ยมนาคะ.  2562.  การผลิตต้นพันธุ์ปลอดโรค. ในการฝึกอบรมวิทยากรถ่ายทอดข้อมูลโรคใบด่างมันสำปะหลัง และเปิดโครงการขยายพันธุ์แบบเร่งรัด X20 และ X80 โดยมูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย. วันที่ 13 ธันวาคม 2562 สถาบันพัฒนามันสำปะหลัง. นครราชสีมา.</ref>)


== การผลิตท่อนพันธุ์สะอาดด้วยวิธีเร่งรัด X20 และ X80 ==
== '''การผลิตท่อนพันธุ์สะอาดด้วยวิธีเร่งรัด X20 และ X80''' ==
                   การผลิตท่อนพันธุ์มันสำปะหลังสะอาดด้วยวิธีเร่งรัดเพื่อผลิตได้ต้นพันธุ์มันสำปะหลังปลอดโรคในปริมาณมาก และรวดเร็วเพื่อเพียงพอแก่เกษตรกรผู้ประสบปัญหาท่อนพันธุ์มันสำปะหลังเป็นโรคใบด่างมันสำปะหลัง โดยมีวิธีการผลิต 2 รูปแบบดังนี้
                   การผลิตท่อนพันธุ์มันสำปะหลังสะอาดด้วยวิธีเร่งรัดเพื่อผลิตได้ต้นพันธุ์มันสำปะหลังปลอดโรคในปริมาณมาก และรวดเร็วเพื่อเพียงพอแก่เกษตรกรผู้ประสบปัญหาท่อนพันธุ์มันสำปะหลังเป็นโรคใบด่างมันสำปะหลัง โดยมีวิธีการผลิต 2 รูปแบบดังนี้


=== -       การผลิตท่อนพันธุ์แบบเร่งรัด X20 ===
=== การผลิตท่อนพันธุ์แบบเร่งรัด X20 ===
                        ตัดท่อนพันธุ์มันสำปะหลังขนาดประมาณ 5-6 เซนติเมตร โดยใช้ใบมีดตัดที่คมเพื่อไม่ให้ท่อนที่ได้มีลักษณะฉีกขาด ส่งผลต่ออัตราการเกิดราก แช่ท่อนพันธุ์ จากนั้นย้ายปลูกลงในวัสดุปลูก ส่วนผสมดังนี้ ขลุ่ยมะพร้าว แกลบดิบ พีทมอส ลงในถาดเพาะปลูก ทำการเพาะเลี้ยงในโรงเรือน รดน้ำเป็นระยะเวลา  1 เดือน นำออกจากโรงเรือนเพื่อปรับสภาพแวดล้อมเป็นระยะเวลา 1 สัปดาห์  ย้ายลงปลูกในแปลงแบบน้ำหยดต่อไปได้
                        ตัดท่อนพันธุ์มันสำปะหลังขนาดประมาณ 5-6 เซนติเมตร โดยใช้ใบมีดตัดที่คมเพื่อไม่ให้ท่อนที่ได้มีลักษณะฉีกขาด ส่งผลต่ออัตราการเกิดราก แช่ท่อนพันธุ์ จากนั้นย้ายปลูกลงในวัสดุปลูก ส่วนผสมดังนี้ ขลุ่ยมะพร้าว แกลบดิบ พีทมอส ลงในถาดเพาะปลูก ทำการเพาะเลี้ยงในโรงเรือน รดน้ำเป็นระยะเวลา  1 เดือน นำออกจากโรงเรือนเพื่อปรับสภาพแวดล้อมเป็นระยะเวลา 1 สัปดาห์  ย้ายลงปลูกในแปลงแบบน้ำหยดต่อไปได้


=== -       การผลิตท่อนพันธุ์แบบเร่งรัด X80 ===
=== การผลิตท่อนพันธุ์แบบเร่งรัด X80 ===
ตัดท่อนพันธุ์มันสำปะหลังขนาดประมาณ 5-6 เซนติเมตร โดยใช้ใบมีดตัดที่คมเพื่อไม่ให้ท่อนที่ได้มีลักษณะฉีกขาด ส่งผลต่ออัตราการเกิดราก แช่ท่อนพันธุ์ จากนั้นย้ายปลูกลงในวัสดุปลูก ส่วนผสมดังนี้ ขลุ่ยมะพร้าว แกลบดิบ พีทมอส ลงในถาดเพาะปลูก ทำการเพาะเลี้ยงในโรงเรือน รดน้ำเป็นระยะเวลา 1 เดือน ตัดส่วนยอดให้เหลือ 1 ตา นำยอดไปปลูกในถาดเพาะชำ จากนั้นตัดต้นแม่ในข้อต่อไปในเดือนต่อไปทำซ้ำได้ประมาณเพิ่มขึ้น นำออกจากโรงเรือนไปปรับสภาพแวดล้อมเป็นระยะเวลา 1 สัปดาห์  ย้ายลงปลูกในแปลงแบบน้ำหยด (วิจารณ์, 2562<ref>วิจารณ์ วิชชุกิจ.  2562.  การผลิตต้นพันธุ์ปลอดโรค. ในการฝึกอบรมวิทยากรถ่ายทอดข้อมูลโรคใบด่างมันสำปะหลัง และเปิดโครงการขยายพันธุ์แบบเร่งรัด X20 และ X80 โดยมูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย. วันที่ 13 ธันวาคม 2562 สถาบันพัฒนามันสำปะหลัง. นครราชสีมา.</ref>)
ตัดท่อนพันธุ์มันสำปะหลังขนาดประมาณ 5-6 เซนติเมตร โดยใช้ใบมีดตัดที่คมเพื่อไม่ให้ท่อนที่ได้มีลักษณะฉีกขาด ส่งผลต่ออัตราการเกิดราก แช่ท่อนพันธุ์ จากนั้นย้ายปลูกลงในวัสดุปลูก ส่วนผสมดังนี้ ขลุ่ยมะพร้าว แกลบดิบ พีทมอส ลงในถาดเพาะปลูก ทำการเพาะเลี้ยงในโรงเรือน รดน้ำเป็นระยะเวลา 1 เดือน ตัดส่วนยอดให้เหลือ 1 ตา นำยอดไปปลูกในถาดเพาะชำ จากนั้นตัดต้นแม่ในข้อต่อไปในเดือนต่อไปทำซ้ำได้ประมาณเพิ่มขึ้น นำออกจากโรงเรือนไปปรับสภาพแวดล้อมเป็นระยะเวลา 1 สัปดาห์  ย้ายลงปลูกในแปลงแบบน้ำหยด (วิจารณ์, 2562<ref>วิจารณ์ วิชชุกิจ.  2562.  การผลิตต้นพันธุ์ปลอดโรค. ในการฝึกอบรมวิทยากรถ่ายทอดข้อมูลโรคใบด่างมันสำปะหลัง และเปิดโครงการขยายพันธุ์แบบเร่งรัด X20 และ X80 โดยมูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย. วันที่ 13 ธันวาคม 2562 สถาบันพัฒนามันสำปะหลัง. นครราชสีมา.</ref>)


134

การแก้ไข