134
การแก้ไข
บรรทัดที่ 4: | บรรทัดที่ 4: | ||
การเข้าทำลายต้นมันสำปะหลังของตัวอ่อนและตัวเต็มวัยของเพลี้ยแป้ง (Mealybugs) โดยการใช้ส่วนของปาก (stylet) ที่มีลักษณะเป็นท่อยาวดูดกินน้ำเลี้ยงตามส่วนต่าง ๆ เช่น ใบ ยอด ขณะเดียวกันเพลี้ยแป้งจะถ่ายมูลทำให้เกิดราดำบนต้นพืช ทำให้พืชสังเคราะห์แสงได้น้อยลง เจริญเติบโตได้ไม่เติมที่ ลำต้นมีช่วงข้อถี่และบิดงอ ยอดแห้งตาย หรือยอดแตกพุ่ม มีผลกระทบต่อการสร้างหัว และหากระบาดในขณะพืชมีอายุน้อยหรือต้นขนาดเล็ก อาจทำให้ต้นตายได้ พบเพลี้ยแป้งระบาดมากในช่วงฤดูแล้ง นอกจากเพลี้ยแป้งจะส่งผลกระทบต่อผลผลิตทั้งด้านปริมาณและคุณภาพแล้วยังทำให้ขาดแคลนท่อนพันธุ์อีกด้วย เพลี้ยแป้งที่เข้าทำลายมันสำปะหลังมี 4 ชนิด คือ เพลี้ยแป้งลาย เพลี้ยแป้งแจ๊คเบียดเลย์ เพลี้ยแป้งสีเขียว และเพลี้ยแป้งสีชมพู (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref name=":0">มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.</ref> | การเข้าทำลายต้นมันสำปะหลังของตัวอ่อนและตัวเต็มวัยของเพลี้ยแป้ง (Mealybugs) โดยการใช้ส่วนของปาก (stylet) ที่มีลักษณะเป็นท่อยาวดูดกินน้ำเลี้ยงตามส่วนต่าง ๆ เช่น ใบ ยอด ขณะเดียวกันเพลี้ยแป้งจะถ่ายมูลทำให้เกิดราดำบนต้นพืช ทำให้พืชสังเคราะห์แสงได้น้อยลง เจริญเติบโตได้ไม่เติมที่ ลำต้นมีช่วงข้อถี่และบิดงอ ยอดแห้งตาย หรือยอดแตกพุ่ม มีผลกระทบต่อการสร้างหัว และหากระบาดในขณะพืชมีอายุน้อยหรือต้นขนาดเล็ก อาจทำให้ต้นตายได้ พบเพลี้ยแป้งระบาดมากในช่วงฤดูแล้ง นอกจากเพลี้ยแป้งจะส่งผลกระทบต่อผลผลิตทั้งด้านปริมาณและคุณภาพแล้วยังทำให้ขาดแคลนท่อนพันธุ์อีกด้วย เพลี้ยแป้งที่เข้าทำลายมันสำปะหลังมี 4 ชนิด คือ เพลี้ยแป้งลาย เพลี้ยแป้งแจ๊คเบียดเลย์ เพลี้ยแป้งสีเขียว และเพลี้ยแป้งสีชมพู (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref name=":0">มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.</ref> | ||
=== | === เพลี้ยแป้งลาย === | ||
เพลี้ยแป้งลาย (Striped mealybug; ''Ferrisia virgata'' Cockerell) มีลักษณะรูปร่างลำตัวคล้ายลิ่ม ผนังลำตัวสีเทา มีผงแป้งปกคลุมลำตัวยาวเป็นเงาคล้ายเส้นใยแก้ว มีแถบดำบนลำตัว 2 แถบชัดเจน ปลายท้องมีหางคล้ายเส้นแป้ง 2 เส้น ยาวครึ่งหนึ่งของลำตัว พบการระบาดของเพลี้ยแป้งชนิดนี้ทั่วไปในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง นอกจากนี้ยังพบการเข้าทำลายในพืชหลายชนิด เช่น มะละกอ น้อยหน่า และไม้ดอกบางชนิด เช่น ชบา เป็นต้น ที่ผ่านมาการระบาดของเพลี้ยแป้งชนิดนี้ยังไม่ถึงระดับความเสียหายทางเศรษฐกิจ เนื่องจากมีการควบคุมด้วยศัตรูธรรมชาติคือตัวห้ำและตัวเบียนอย่างสมดุล (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref name=":0" /> | เพลี้ยแป้งลาย (Striped mealybug; ''Ferrisia virgata'' Cockerell) มีลักษณะรูปร่างลำตัวคล้ายลิ่ม ผนังลำตัวสีเทา มีผงแป้งปกคลุมลำตัวยาวเป็นเงาคล้ายเส้นใยแก้ว มีแถบดำบนลำตัว 2 แถบชัดเจน ปลายท้องมีหางคล้ายเส้นแป้ง 2 เส้น ยาวครึ่งหนึ่งของลำตัว พบการระบาดของเพลี้ยแป้งชนิดนี้ทั่วไปในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง นอกจากนี้ยังพบการเข้าทำลายในพืชหลายชนิด เช่น มะละกอ น้อยหน่า และไม้ดอกบางชนิด เช่น ชบา เป็นต้น ที่ผ่านมาการระบาดของเพลี้ยแป้งชนิดนี้ยังไม่ถึงระดับความเสียหายทางเศรษฐกิจ เนื่องจากมีการควบคุมด้วยศัตรูธรรมชาติคือตัวห้ำและตัวเบียนอย่างสมดุล (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref name=":0" /> | ||
[[ไฟล์:Image 01.png|thumb|เพลี้ยแป้งลาย (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]] | [[ไฟล์:Image 01.png|thumb|เพลี้ยแป้งลาย (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]] | ||
บรรทัดที่ 56: | บรรทัดที่ 56: | ||
ท่อนพันธุ์ปลูกควรสะอาดปราศจากโรคและแมลงเข้าทำลาย หากท่อนพันธุ์ที่ใช้มาจากแหล่งที่มีการระบาดของเพลี้ยแป้งไม่แน่ใจว่าท่อนพันธุ์ปลอดจากเพลี้ยแป้งหรือไม่ หรือในพื้นที่ปลูกโดยรอบมีการระบาดของเพลี้ยแป้งอยู่ ควรแช่ท่อนพันธุ์ด้วยสารเคมีที่แนะนำนาน 5-10 นาที ก่อนปลูกเสมอ โดยไม่ควรแช่นานเกิน 10 นาที เนื่องจากอาจทำให้มันสำปะหลังแสดงอาการเป็นพิษจากฤทธิ์ของสารเคมี และทำให้สิ้นเปลืองเวลาโดยเฉพาะอย่างยิ่งการปลูกในพื้นที่ขนาดใหญ่ | ท่อนพันธุ์ปลูกควรสะอาดปราศจากโรคและแมลงเข้าทำลาย หากท่อนพันธุ์ที่ใช้มาจากแหล่งที่มีการระบาดของเพลี้ยแป้งไม่แน่ใจว่าท่อนพันธุ์ปลอดจากเพลี้ยแป้งหรือไม่ หรือในพื้นที่ปลูกโดยรอบมีการระบาดของเพลี้ยแป้งอยู่ ควรแช่ท่อนพันธุ์ด้วยสารเคมีที่แนะนำนาน 5-10 นาที ก่อนปลูกเสมอ โดยไม่ควรแช่นานเกิน 10 นาที เนื่องจากอาจทำให้มันสำปะหลังแสดงอาการเป็นพิษจากฤทธิ์ของสารเคมี และทำให้สิ้นเปลืองเวลาโดยเฉพาะอย่างยิ่งการปลูกในพื้นที่ขนาดใหญ่ | ||
==== '''ตารางสารเคมีสำหรับแช่ท่อนพันธุ์ก่อนปลูก''' ==== | |||
{| class="wikitable" | {| class="wikitable" | ||
|สารเคมี | |สารเคมี |
การแก้ไข