ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การจัดการแมลง"

เพิ่มขึ้น 2,092 ไบต์ ,  06:16, 22 พฤศจิกายน 2564
ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
บรรทัดที่ 146: บรรทัดที่ 146:
=== <ref name=":0">อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช.  2555. โรคและแมลงศัตรูของมันสำปะหลัง. สุพรีมพริ้นท์ จำกัด, กรุงเทพฯ.</ref>'''การป้องกันกำจัด''' ===
=== <ref name=":0">อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช.  2555. โรคและแมลงศัตรูของมันสำปะหลัง. สุพรีมพริ้นท์ จำกัด, กรุงเทพฯ.</ref>'''การป้องกันกำจัด''' ===
ทำการป้องกันก่อนการปลูกด้วยสารเคมี อิมิดาคลอพริด อัตรา 10 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร แช่ท่อนพันธุ์ หากมีการระบาดในช่วงหลังปลูก ให้พ้นที่โคนต้นด้วยสาร ฟีโพรนิล อัตราส่วน 80 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร (อุดมศักดิ์,  2555)<ref name=":0" />
ทำการป้องกันก่อนการปลูกด้วยสารเคมี อิมิดาคลอพริด อัตรา 10 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร แช่ท่อนพันธุ์ หากมีการระบาดในช่วงหลังปลูก ให้พ้นที่โคนต้นด้วยสาร ฟีโพรนิล อัตราส่วน 80 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร (อุดมศักดิ์,  2555)<ref name=":0" />
ชื่อวิทยาศาสตร์ ''Lepidiota stigma'' Fabricius  เป็นแมลงที่เข้าทำลายมันสำปะหลังในช่วงอายุ 1-3 เดือน โดยมีการระบาดมากในช่วงสภาพอากาศแห้แล้งเป็นเวลายาวนาน แมลงนูนหลวงจะทำลายโดยการกัดกินผิวของท่อนพันธุ์หรือผิวรากแล้วเจาะรูเข้าไปในเนื้อไม้ ทำให้รากเน่า หรือต้นตายได้ (อุดมศักดิ์, 2555)<ref name=":0">อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช.  2555. โรคและแมลงศัตรูของมันสำปะหลัง. สุพรีมพริ้นท์ จำกัด, กรุงเทพฯ.</ref>
[[ไฟล์:Image14.png|thumb|ลักษณะบริเวณโคนต้นถูกแมลงนูนหลวงทำลาย]]
== การป้องกันกำจัง ==
แมลงนูนหลวงเป็นแมลงที่มีระยะตัวเต็มวัยปีละ 1 ครั้ง โดยเกษตรกรต้องทำการเก็บตัวเต็มวัยทำลาย โดยเฉพาะในช่วงประมาณเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม เป้นช่วงที่แมลงผสมพันธุ์จะช่วยให้ปริมาณแมลงลดลงได้ ในบริเวณที่มีการเข้าทำลายมากให้ทำการไถพรวนหลายๆครั้ง เพื่อทำลายไข่และหนอนก่อนที่จะเป็นตัวเต็มวัย (อุดมศักดิ์, 2555)<ref name=":0" />




134

การแก้ไข