134
การแก้ไข
บรรทัดที่ 119: | บรรทัดที่ 119: | ||
หลีกเลี่ยงการปลูกมันสำปะหลังในช่วงที่จะทำให้มันสำปะหลังกระทบแล้งตั้งแต่ช่วงต้นเล็กหรืออายุน้อยอยู่ เก็บส่วนของพืชที่มีไรอยู่ไปเผาทำลายทิ้ง ถ้าพบการระบาดของไรรุนแรง ให้ใช้สารฆ่าแมลง ได้แก่ อีโทเฟนพรอกซ์ (etofenprox) และไดโคฟอล ฉีดพ่นตามคำแนะนำในฉลาก (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref>มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.</ref> | หลีกเลี่ยงการปลูกมันสำปะหลังในช่วงที่จะทำให้มันสำปะหลังกระทบแล้งตั้งแต่ช่วงต้นเล็กหรืออายุน้อยอยู่ เก็บส่วนของพืชที่มีไรอยู่ไปเผาทำลายทิ้ง ถ้าพบการระบาดของไรรุนแรง ให้ใช้สารฆ่าแมลง ได้แก่ อีโทเฟนพรอกซ์ (etofenprox) และไดโคฟอล ฉีดพ่นตามคำแนะนำในฉลาก (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref>มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.</ref> | ||
[[ไฟล์:Image 08.png|thumb|ลักษณะอาการบนใบมันสำปะหลังเกิดจากการเข้าทำลายของไร]] | [[ไฟล์:Image 08.png|thumb|ลักษณะอาการบนใบมันสำปะหลังเกิดจากการเข้าทำลายของไร]] | ||
ในมันสำปะหลังพบแมลงหวี่ขาว 2 ชนิด คือ แมลงหวี่ขาวยาสูบ ชื่อวิทยาศาสตร์ ''Bemisia tabaci'' (Gennadius) และแมลงหวี่ขาวใยเกลียว ชื่อวิทยาศาสตร์ ''Aleurodicus disperses'' Russell โดยแมลงหวี่ขาวใยเกลียว ตัวเต็มวัยมีขนาดประมาณ 2 มิลลิเมตร ลำตัวสีเหลืองอ่อน ปีกคลุมด้วยผงสีขาวคล้ายผงแป้ง วางไข่เป็นรูปวงกลมด้านหลังใบมันสำปะหลัง ลักษณะเป็นวงเกลียวมีเส้นใยสีขาวปกคลุม แต่ละวงจะมีไข่ประมาณ 14-26 ฟอง ระยะไข่ใช้เวลา 7 วัน ตัวอ่อนมีเส้นใยสีขาวปกคลุมทั่วลำตัว มี 4 ระยะใช้เวลา 30 วัน โดยตัวอ่อนระยะ 1 จะแขวนอยู่บนใบพืช ส่วนตัวอ่อนระยะอื่นจะไม่เคลื่อนไหว ตัวเต็มวัยมีอายุประมาณ 3-7 วัน ส่วนแมลงหวี่ขาวยาสูบ ตัวเต็มวัยมีความยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร ลำตัวสีเหลืองอ่อน ปีกสีขาว ตาสีดำ ไข่มีขนาด 0.1-0.3 มิลลิเมตร ตัวอ่อนสีเหลืองใส ลักษณะแบนราบติดไปกับผิวใบมันสำปะหลังลอกคราบ 3 ครั้ง ระยะตัวอ่อน 11-18 วัน ดักแด้ตัวจะนูนสีเหลืองเข้มขึ้นตาสีแดง มีขนาดประมาณ 0.6-0.8 มิลลิเมตร ตัวเต็มวัยจะออกจากดักแด้ตรงรอยแตกที่ส่วนอก เพศเมียสามารถวางไข่ได้สูงสุดมากกว่าร้อยฟอง ตัวเต็มวัยมีอายุประมาณ 2-11 วัน มีการสืบพันธุ์แบบ parthenogenesis (การออกลูกเป็นตัวโดยไม่มีการสืบพันธุ์) (สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, 2559)<ref>สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช. 2559. คู่มือการจัดการ ปัญหาศัตรูมันสำปะหลังแบบผสมผสาน. การันตี, กรุงเทพฯ.</ref> | |||
== ลักษณะอาการ == | |||
ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยจะดูดกินน้ำเลี้ยงจากส่วนใต้ใบของพืช และถ่ายมูลทำให้เกิดราดำส่งผลให้พืชสังเคราะห์แสงได้น้อยลง นอกจากนี้ในแมลงหวีขาวยาสูบสามารถเป็นแมลงพาหะถ่ายทอดโรคใบด่าง (Cassava mosaic disease) ได้ด้วย (อุดมศักดิ์, 2555)<ref name=":0">อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช. 2555. โรคและแมลงศัตรูของมันสำปะหลัง. สุพรีมพริ้นท์ จำกัด, กรุงเทพฯ.</ref> | |||
== การป้องกันกำจัด == | |||
หลีกเลี่ยงการปลูกมันสำปะหลังในช่วงที่สภาพอากาศแห้แล้งในช่วงที่มันสำปะหลังยังเล็ก เก็บส่วนของพืชที่พบแมลงหวี่ขาวอยู่ไปเผาทำลายทิ้ง หรือทำการควบคุมด้วยชีววิธีด้วยแมลงศัตรูธรรมชาติ คือแมลงช้าง ปล่อยลงในแปลง หากมีการระบาดรุนแรงให้ทำการฉีดพ่นด้วยสารเคมีกำจัดแมลง เช่น อีโทเฟนพรอกซ์ (Etofenprox) อิมิดาคลอพริด (Imidacloprid) ไธอะมีโทแซม (Thiamethoxam) ฉีดพ่นอัตราตามฉลากแนะนำ (อุดมศักดิ์, 2555)<ref name=":0" /> | |||
== อ้างอิง == | == อ้างอิง == |
การแก้ไข