ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การจำแนกพันธุ์"

ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
มันสำปะหลัง (ชื่อวิทยาศาสตร์: ''Manihot esculenta'' (L.) Crantz) เป็นพืชหัวชนิดหนึ่ง มีชื่อเรียกกันทั่วไปในภาษาอังกฤษว่า แคสซาวา (Cassava) หรือ ทาปิโอก้า (Tapioca) ประเทศแถบแอฟริกา เรียกชื่อ ภาษาฝรั่งเศสว่า แมนิออค (Manioc) มันสำปะหลังมีถิ่นกำเนิดในอเมริกาใต้ เช่น ประเทศเปรู เม็กซิโก กัวเตมาลา ฮอนดูรัส และบราซิล ซึ่งมีการปลูกมันสำปะหลังมา 3,000 ถึง 7,000 ปีแล้ว ต่อมาได้ขยายไปสู่แหล่งอื่นๆ ของโลก โดยชาวโปรตุเกส และสเปน นำมันสำปะหลังจากเม็กซิโก มายังฟิลิปปินส์ ประมาณ ค.ศ.17 และชาวฮอลแลนด์ นำไปยังอินโดนิเซีย ประมาณ ค.ศ.18 สำหรับประเทศไทยนั้น ไม่มีหลักฐานที่แน่ชัดว่า มีการนำมันสำปะหลังเข้ามาปลูกเมื่อใด แต่คาดว่ามีการนำมันสำปะหลังมาจากประเทศมาเลเซียเมื่อปี พ.ศ. 2329 โดยมีชื่อ เรียกในระยะต่อมาว่า มันไม้ และมันสำโรง คำว่ามันสำปะหลัง นั้นภาษามาเลเซียและอินโดนีเซียเรียกว่า Ubikayu แปลว่า พืชที่มีรากขยายใหญ่ และคล้ายกับภาษาชวาตะวันตกว่า "สัมเปอ (Sampeu)" <ref name=":0">มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. สืบค้นเมื่อ 5 มิถุนายน 2564. จาก https://www.tapiocathai.org/C.html</ref>
มันสำปะหลัง (ชื่อวิทยาศาสตร์: ''Manihot esculenta'' (L.) Crantz) เป็นพืชหัวชนิดหนึ่ง มีชื่อเรียกทั่วไปในภาษาอังกฤษว่า แคสซาวา (Cassava) หรือทาปิโอก้า (Tapioca) ประเทศแถบแอฟริกาเรียกชื่อภาษาฝรั่งเศสว่า แมนิออค (Manioc) มีถิ่นกำเนิดในอเมริกาใต้ ซึ่งมีการปลูกมันสำปะหลังมา 3,000 ถึง 7,000 ปีต่อมาได้ขยายไปสู่แหล่งอื่นๆ สำหรับประเทศไทยนั้นไม่มีหลักฐานที่แน่ชัดว่ามีการนำมันสำปะหลังเข้ามาปลูกเมื่อใด แต่คาดว่ามีการนำมันสำปะหลังมาจากประเทศมาเลเซียเมื่อปี พ.ศ.2329 โดยมีชื่อเรียกในระยะต่อมาว่า มันไม้และมันสำโรง <ref name=":0">มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. สืบค้นเมื่อ 5 มิถุนายน 2564. จาก https://www.tapiocathai.org/C.html</ref>
{| class="wikitable"
{| class="wikitable"
| colspan="2" |          '''มันสำปะหลัง'''
| colspan="2" |          '''มันสำปะหลัง'''
บรรทัดที่ 30: บรรทัดที่ 30:
|''M. esculenta''
|''M. esculenta''
|}
|}
'''มันสำปะหลังที่ปลูกในประเทศไทย แบ่งเป็น 2 ชนิดคือ'''
มันสำปะหลังมีทั้งชนิดหวาน (Sweet Type) มีปริมาณกรดไฮโดรไซยานิคต่ำ ใช้เพื่อการบริโภค เช่น พันธุ์ห้านาที และมันสำปะหลังชนิดขม (Bitter Type) มีกรดไฮโดรไซยานิคสูง เป็นพิษและมีรสขม            ไม่เหมาะสำหรับการบริโภค แต่เหมาะใช้ในอุตสาหกรรมผลิตแป้งและอาหารสัตว์ เช่น พันธุ์ระยอง 90 ระยอง 3 ระยอง 7 ระยอง 9 ระยอง 60 ระยอง 5 ระยอง 11 ระยอง 72 ระยอง 1 ห้วยบง 80 ห้วยบง 60 เกษตรศาสตร์ 50 เกษตรศาสตร์ 72 ระยอง 86-13 และห้วยบง 90 เป็นต้น   


# ชนิดหวาน (Sweet Type)  เป็นมันสำปะหลังที่มีปริมาณกรดไฮโดรไซยานิคต่ำ ไม่มีรสขมใช้เพื่อการบริโภคของมนุษย์ มีทั้งชนิดเนื้อร่วนนุ่ม และชนิดเนื้อแน่น เหนียว แต่มีจำนวนน้อย เช่น พันธุ์ห้านาที ระยอง 2 และพิรุณ 2
หน่วยงานที่มีบทบาทในการพัฒนาพันธุ์มันสำปะหลัง ได้แก่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และกรมวิชาการเกษตร ได้จำแนกพันธุ์มันสำปะหลังในประเทศไทย ตามลักษณะของสี รูปร่าง ลักษณะทรงต้น ใบ และ การแตกกิ่ง โดยลักษณะเด่นที่สามารถใช้จำแนกพันธุ์ในปัจจุบันมีดังนี้
# ชนิดขม (Bitter Type) เป็นมันสำปะหลังที่มีกรดไฮโดรไซยานิคสูง เป็นพิษ และมีรสขม ไม่เหมาะสำหรับ การบริโภคของมนุษย์ หรือใช้หัวมันสำปะหลัง สดเลี้ยงสัตว์โดยตรง แต่จะใช้สำหรับอุตสาหกรรมแปรรูปต่างๆเช่น แป้งมัน มันอัดเม็ด และแอลกอฮอล์ เป็นต้น เนื่องจากมีปริมาณแป้งสูง มันสำปะหลังที่ปลูกในประเทศ ไทยส่วนใหญ่เป็นชนิดขมสำหรับใช้ในอุตสาหกรรม<ref name=":0" />
 
มันสำปะหลังสามารถปลูกได้หลายพื้นที่ของประเทศไทย ที่มีความแตกต่างกันทั้งในด้านสภาพแวดล้อมและสภาพอากาศ อย่างไรก็ดีมันสำปะหลังแต่ละพันธุ์สามารถเจริญเติบโตและให้ผลผลิตได้ดีในพื้นที่ที่แตกต่างกัน ดังนั้นการเลือกพันธุ์ที่เหมาะสมต่อพื้นที่ปลูกจะช่วยเพิ่มโอกาสในการได้ผลผลิตเต็มศักยภาพของพันธุ์ ปัญหาที่สำคัญในการเลือกพันธุ์มันสำปะหลัง คือ ไม่สามารถจำแนกพันธุ์มันสำปะหลังที่จะใช้ปลูกได้ เนื่องจากไม่ทราบลักษณะเด่นประจำพันธุ์ ส่งผลให้ไม่ได้ผลผลิตตามที่คาดการณ์และทำให้ไม่สามารถเลือกขยายพันธุ์มันสำปะหลังได้ตามจำนวนที่ต้องการ หน่วยงานที่มีการพัฒนาพันธุ์มันสำปะหลัง เช่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และกรมวิชาการเกษตร ได้จำแนกพันธุ์มันสำปะหลังในประเทศไทย โดยเฉพาะพันธุ์การค้าตามลักษณะเด่นของแต่ละพันธุ์<ref>กรมส่งเสริมการเกษตร. 2558. คู่มือการจำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง. บริษัท ซัน แพคเกจจิ้ง (2014) จำกัด</ref>


== ลักษณะเด่นที่ใช้จำแนกพันธุ์ ==
== ลักษณะเด่นที่ใช้จำแนกพันธุ์ ==