71
การแก้ไข
บรรทัดที่ 26: | บรรทัดที่ 26: | ||
* '''การปลูกแบบนอน''' (ปัจจุบันไม่นิยมปลูกด้วยวิธีนี้) เป็นวิธีการปลูกแบบเก่า เพราะต้นมันสำปะหลังจะงอกโผล่พ้นดินช้ากว่าวัชพืช ทำให้การกำจัดวัชพืชลำบากมากขึ้น แต่มีข้อดี คือ ถ้าดินมีความชื้นน้อยการปลูกด้วยวิธีนี้จะทำให้มีจำนวนต้นอยู่รอดมาก และไม่ต้องระวังว่าจะปลูกโดยเอายอดลงดินซึ่งจะทำให้ตาไม่งอก | * '''การปลูกแบบนอน''' (ปัจจุบันไม่นิยมปลูกด้วยวิธีนี้) เป็นวิธีการปลูกแบบเก่า เพราะต้นมันสำปะหลังจะงอกโผล่พ้นดินช้ากว่าวัชพืช ทำให้การกำจัดวัชพืชลำบากมากขึ้น แต่มีข้อดี คือ ถ้าดินมีความชื้นน้อยการปลูกด้วยวิธีนี้จะทำให้มีจำนวนต้นอยู่รอดมาก และไม่ต้องระวังว่าจะปลูกโดยเอายอดลงดินซึ่งจะทำให้ตาไม่งอก | ||
* '''การปลูกแบบปัก''' การปลูกแบบปักจะให้ผลดีกว่าการปลูกแนวนอน เนื่องจากมันสำปะหลังงอกได้เร็วกว่า สม่ำเสมอกว่า สะดวกต่อการปลูกซ่อม และกำจัดวัชพืช ในฤดูฝน ถ้าพื้นที่แฉะควรยกร่องและปลูกบนสันร่อง ถ้าดินระบายน้ำดีปลูกบนพื้นที่ราบก็ได้ การปักท่อนพันธุ์ตั้งตรงหรือเอียงให้ลึกประมาณ 10 – 15 เซนติเมตร สำหรับการปลูกในฤดูแล้งไม่จำเป็นต้องยกร่องแต่ควรปักตั้งตรงหรือเอียง ให้ลึกกว่าการปลูกในฤดูฝน 10 – 15 เซนติเมตร จะช่วยให้ท่อนพันธุ์มีความงอกและมีความอยู่รอดสูง ส่วนการปลูกในพื้นที่ที่มีความเอียง ควรปลูกโดยการยกร่องขวางแนวลาดเอียง | * '''การปลูกแบบปัก''' การปลูกแบบปักจะให้ผลดีกว่าการปลูกแนวนอน เนื่องจากมันสำปะหลังงอกได้เร็วกว่า สม่ำเสมอกว่า สะดวกต่อการปลูกซ่อม และกำจัดวัชพืช ในฤดูฝน ถ้าพื้นที่แฉะควรยกร่องและปลูกบนสันร่อง ถ้าดินระบายน้ำดีปลูกบนพื้นที่ราบก็ได้ การปักท่อนพันธุ์ตั้งตรงหรือเอียงให้ลึกประมาณ 10 – 15 เซนติเมตร สำหรับการปลูกในฤดูแล้งไม่จำเป็นต้องยกร่องแต่ควรปักตั้งตรงหรือเอียง ให้ลึกกว่าการปลูกในฤดูฝน 10 – 15 เซนติเมตร จะช่วยให้ท่อนพันธุ์มีความงอกและมีความอยู่รอดสูง ส่วนการปลูกในพื้นที่ที่มีความเอียง ควรปลูกโดยการยกร่องขวางแนวลาดเอียง | ||
== '''การทำแปลงขยายต้นพันธุ์แบบเร่งรัด''' == | == '''การทำแปลงขยายต้นพันธุ์แบบเร่งรัด''' == | ||
บรรทัดที่ 40: | บรรทัดที่ 38: | ||
# เมื่อมันสำปะหลังแตกยอดใหม่และมีจำนวนมากเกินไป ให้เด็ดยอดทิ้งเหลือลำต้นหลักเพียง 4 ลำต่อต้น เพื่อให้ได้ต้นพันธุ์ที่สมบูรณ์แข็งแรง มีขนาดพอเหมาะสำหรับปลูก | # เมื่อมันสำปะหลังแตกยอดใหม่และมีจำนวนมากเกินไป ให้เด็ดยอดทิ้งเหลือลำต้นหลักเพียง 4 ลำต่อต้น เพื่อให้ได้ต้นพันธุ์ที่สมบูรณ์แข็งแรง มีขนาดพอเหมาะสำหรับปลูก | ||
# เก็บเกี่ยวต้นพันธุ์ภายหลังการตัดยอดประมาณ 10 เดือน หรือเมื่อมันสำปะหลังมีอายุประมาณ 12 เดือนหลังปลูก | # เก็บเกี่ยวต้นพันธุ์ภายหลังการตัดยอดประมาณ 10 เดือน หรือเมื่อมันสำปะหลังมีอายุประมาณ 12 เดือนหลังปลูก | ||
[[ไฟล์:Image s8.png|center|thumb|257x257px|ภาพแสดงการตัดยอดต้นพันธุ์เมื่ออายุ 2 เดือนหลังปลูกเพื่อให้แตกลำเพิ่ม]] | |||
[[ไฟล์:Untitled-1.png|center|thumb|400x400px|ภาพแสดงต้นพันธุ์ที่มีการตัดยอดเพื่อเพิ่มจำนวนลำต่อต้น (A) เปรียบเทียบกับต้นพันธุ์ปกติที่ไม่มีการตัดยอดเมื่ออายุน้อย (B)]] | |||
=== '''การขยายพันธุ์โดยใช้ท่อนพันธุ์สั้น และตัดยอดต้นอ่อน''' === | === '''การขยายพันธุ์โดยใช้ท่อนพันธุ์สั้น และตัดยอดต้นอ่อน''' === | ||
บรรทัดที่ 56: | บรรทัดที่ 56: | ||
# หลังการตัดต้นพันธุ์ครั้งแรกจะมีการสร้างลำต้นและใบขึ้นมาใหม่จำนวนมาก ควรตัดแต่งให้แต่ละต้นเหลือลำต้นหลักเพียง 2 – 3 ลำต่อต้น เพื่อให้ลำต้นมีความสมบูรณ์และมีจำนวนใบพอเหมาะสำหรับการเจริญเติบโต สร้างผลผลิต และปริมาณแป้งในหัว | # หลังการตัดต้นพันธุ์ครั้งแรกจะมีการสร้างลำต้นและใบขึ้นมาใหม่จำนวนมาก ควรตัดแต่งให้แต่ละต้นเหลือลำต้นหลักเพียง 2 – 3 ลำต่อต้น เพื่อให้ลำต้นมีความสมบูรณ์และมีจำนวนใบพอเหมาะสำหรับการเจริญเติบโต สร้างผลผลิต และปริมาณแป้งในหัว | ||
# หลังการตัดต้นพันธุ์จะมีการแตกตาใหม่ขึ้นมาทำให้ต้องดึงอาหารที่สะสมไว้ในหัวมาใช้สร้างลำต้นและใบ ส่งผลให้ปริมาณแป้งในหัวต่ำลงในช่วง 1 – 3 เดือนแรก หลังจากนั้นผลผลิตหัวสดและปริมาณแป้งจะเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง และเพิ่มอย่างเด่นชัดเมื่ออายุ 6 เดือนหลังการตัดต้น ดังนั้นจึงควรเก็บเกี่ยวที่อายุ 6 เดือนขึ้นไปหลังการตัดต้นครั้งแรก | # หลังการตัดต้นพันธุ์จะมีการแตกตาใหม่ขึ้นมาทำให้ต้องดึงอาหารที่สะสมไว้ในหัวมาใช้สร้างลำต้นและใบ ส่งผลให้ปริมาณแป้งในหัวต่ำลงในช่วง 1 – 3 เดือนแรก หลังจากนั้นผลผลิตหัวสดและปริมาณแป้งจะเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง และเพิ่มอย่างเด่นชัดเมื่ออายุ 6 เดือนหลังการตัดต้น ดังนั้นจึงควรเก็บเกี่ยวที่อายุ 6 เดือนขึ้นไปหลังการตัดต้นครั้งแรก | ||
== อ้างอิง == |
การแก้ไข