ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรครากปมมันสำปะหลัง (cassava Root-knot)"

ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
 
บรรทัดที่ 2: บรรทัดที่ 2:


== ลักษณะอาการ ==
== ลักษณะอาการ ==
เมื่อไส้เดือนฝอยเข้าทำลายส่วนของรากมันสำปะหลังจะแสดงอาการเป็นปุ่มปม และจะไม่ทำการสะสมอาหาร ในกรณีที่ถูกไส้เดือนฝอยเข้าทำลายรุนแรงจะพบอาการเหี่ยวเฉาที่ใบและกิ่งแห้ง หรือลำต้นเหี่ยว และอาจทำให้ยืนต้นตายได้ โดยสามารถส่งผลกระทบต่อผลผลิตได้ตั้งแต่ 70% ขึ้นไปในพื้นที่ที่มีการแพร่ระบาดรุนแรง[pk1]  (สำนักงานวิจัยพัฒนาอารักขาพืช, 2559)
เมื่อไส้เดือนฝอยเข้าทำลายส่วนของรากมันสำปะหลังจะแสดงอาการเป็นปุ่มปม และจะไม่ทำการสะสมอาหาร ในกรณีที่ถูกไส้เดือนฝอยเข้าทำลายรุนแรงจะพบอาการเหี่ยวเฉาที่ใบและกิ่งแห้ง หรือลำต้นเหี่ยว และอาจทำให้ยืนต้นตายได้ โดยสามารถส่งผลกระทบต่อผลผลิตได้ตั้งแต่ 70% ขึ้นไปในพื้นที่ที่มีการแพร่ระบาดรุนแรง  (สำนักงานวิจัยพัฒนาอารักขาพืช, 2559)<ref>สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช.  2559. คู่มือการจัดการ ปัญหาศัตรูมันสำปะหลังแบบผสมผสาน. การันตี, กรุงเทพฯ.</ref>


== การแพร่ระบาด ==
== การแพร่ระบาด ==
ไส้เดือนฝอยรากปมสามารถแพร่ระบาดได้ดีในพื้นที่เป็นดินร่วนปนทราย สามารถแพร่ระบาดไปได้กับระบบการให้น้ำ หรือไหลไปกับน้ำฝน รวมทั้งติดไปกับดิน หรือติดไปกับเครื่องมือการเกษตรต่างๆ เช่นล้อรถไถ จอบ และเครื่องมืออื่นๆ นอกจากนี้ยังสามารถติดไปกับรองเท้าของเกษตรกรได้เช่นกัน (นุชนารถ, 2016)
ไส้เดือนฝอยรากปมสามารถแพร่ระบาดได้ดีในพื้นที่เป็นดินร่วนปนทราย สามารถแพร่ระบาดไปได้กับระบบการให้น้ำ หรือไหลไปกับน้ำฝน รวมทั้งติดไปกับดิน หรือติดไปกับเครื่องมือการเกษตรต่างๆ เช่นล้อรถไถ จอบ และเครื่องมืออื่นๆ นอกจากนี้ยังสามารถติดไปกับรองเท้าของเกษตรกรได้เช่นกัน (นุชนารถ, 2016)<ref>นุชนารถ ตั้งจิตสมคิด.  2016.  โรครากปม. ที่มา: <nowiki>http://microorganism.expertdoa.com/disease_1_%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%9B%E0%B8%A1.php</nowiki>. กรรมวิชาการเกษตร. วันที่ 5 พฤษภาคม 2564</ref>


== การป้องกันกำจัด ==
== การป้องกันกำจัด ==
ควรหลีกเลี่ยงการปลูกมันสำปะหลังซ้ำในพื้นที่ที่เคยมีการระบาดของโรค ควรปลูกพืชแบบสลับ เช่น ปอเทือง เพื่อลดจำนวนประชากรไส้เดือนฝอยหรือหมั่นตรวจแปลงมันสำปะหลัง ในกรณีที่พบอาการเหี่ยวเฉาที่ใบและกิ่งแห้งทั้งต้น หรือใช้พันธุ์ต้านทาน ระยอง 72 (สำนักงานวิจัยพัฒนาอารักขาพืช, 2559)
ควรหลีกเลี่ยงการปลูกมันสำปะหลังซ้ำในพื้นที่ที่เคยมีการระบาดของโรค ควรปลูกพืชแบบสลับ เช่น ปอเทือง เพื่อลดจำนวนประชากรไส้เดือนฝอยหรือหมั่นตรวจแปลงมันสำปะหลัง ในกรณีที่พบอาการเหี่ยวเฉาที่ใบและกิ่งแห้งทั้งต้น หรือใช้พันธุ์ต้านทาน ระยอง 72 (สำนักงานวิจัยพัฒนาอารักขาพืช, 2559)<ref>สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช.  2559. คู่มือการจัดการ ปัญหาศัตรูมันสำปะหลังแบบผสมผสาน. การันตี, กรุงเทพฯ.</ref>
[[หมวดหมู่:โรค]]
[[หมวดหมู่:โรค]]