ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคใบจุดสีน้ำตาล (brown leaf spot disease)"

ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
 
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
โรคนี้อาจเรียกว่าโรค BLS เกิดจากเชื้อรา ''Cercosporidium henningsii'' หรือ ''Cercospora henningsii'' เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อราที่ทำความเสียหายให้แก่มันสำปะหลังที่สำคัญโรคหนึ่ง ทั้งทางตรงและทางอ้อม ทำให้มันสำปะหลังที่เป็นโรคมีจุดสีเหลืองกระจายอยู่ทั่วทั้งใบ เป็นการลดพื้นที่ใบในการสังเคราะห์แสง (เจริญศักดิ์, 2532<ref>เจริญศักดิ์ โรจนฤทธิ์พิเชษฐ์. 2532.  มันสำปะหลัง การปลูก อุตสาหกรรมแปรรูป และการใช้ประโยชน์. ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.</ref>) ส่วนทางอ้อมพบว่าโรคใบจุดสีน้ำตาลทำให้ใบมันสำปะหลังร่วงหลังจากปลูก และร่วงมากขึ้นเมื่อปลูกไปแล้ว 5 เดือน (เจริญศักดิ์, 2529<ref>เจริญศักดิ์ โรจนฤทธิ์พิเชษฐ์ ปิยะวุฒิ พูลสงวน สมยศ พุทธเจริญ จำลอง เจียมจำนรรจา             ลมัย ศรีจันทร์ดี และวิทยา แสงแก้วสุข.  2529.  ความสำคัญทางเศรษฐกิจของโรคใบจุดสีน้ำตาลของมันสำปะหลังในประเทศไทย.  ใน การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 24. </ref>) โรคนี้ทำให้ใบของมันสำปะหลังร่วงก่อนกำหนดเป็นผลให้วัชพืชขึ้นแก่งแย่งแข่งขันได้ดี ทำให้มันสำปะหลังสร้างหัวใต้ดินน้อย และผลผลิตลดลงในที่สุด โรคใบจุดสีน้ำตาลแสดงอาการผิดปกติเฉพาะส่วนใบเท่านั้น พบอาการใบจุดในตำแหน่งของใบที่อยู่ด้านล่างมากกว่าใบที่อยู่ด้านบน โดยแสดงอาการผิดปกติใน 2 ระยะ คือ ระยะแรกด้านใบมีลักษณะเป็นจุดสีน้ำตาลค่อนข้างเหลี่ยมตามเส้นใบ มีขอบชัดเจน และเมื่อสังเกตด้านหลังใบพบจุดแผลมีสีเทา เนื่องจากเส้นใยของเชื้อขึ้นปกคลุมส่วนใน ระยะที่สองปรากฏขอบแผลสีเหลืองรอบจุดสีน้ำตาลและ ถ้ารุนแรงขึ้นตรงกลางแผลมีอาการแห้งและหลุดออกเป็นรูกลวง (ศานิต, 2557<ref>ศานิต สวัสดิกาญจน์.  2557.  พืชอุตสาหกรรม(Industrial Field crops).  โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์. กรุงเทพมหานคร.</ref>)  
โรคนี้อาจเรียกว่าโรค BLS เกิดจากเชื้อรา ''Cercosporidium henningsii'' หรือ ''Cercospora henningsii'' เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อราที่ทำความเสียหายให้แก่มันสำปะหลังที่สำคัญโรคหนึ่ง ทั้งทางตรงและทางอ้อม ทำให้มันสำปะหลังที่เป็นโรคมีจุดสีเหลืองกระจายอยู่ทั่วทั้งใบ เป็นการลดพื้นที่ใบในการสังเคราะห์แสง (เจริญศักดิ์, 2532<ref>เจริญศักดิ์ โรจนฤทธิ์พิเชษฐ์. 2532.  มันสำปะหลัง การปลูก อุตสาหกรรมแปรรูป และการใช้ประโยชน์. ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.</ref>) ส่วนทางอ้อมพบว่าโรคใบจุดสีน้ำตาลทำให้ใบมันสำปะหลังร่วงหลังจากปลูก และร่วงมากขึ้นเมื่อปลูกไปแล้ว 5 เดือน (เจริญศักดิ์, 2529<ref>เจริญศักดิ์ โรจนฤทธิ์พิเชษฐ์ ปิยะวุฒิ พูลสงวน สมยศ พุทธเจริญ จำลอง เจียมจำนรรจา             ลมัย ศรีจันทร์ดี และวิทยา แสงแก้วสุข.  2529.  ความสำคัญทางเศรษฐกิจของโรคใบจุดสีน้ำตาลของมันสำปะหลังในประเทศไทย.  ใน การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 24. </ref>) โรคนี้ทำให้ใบของมันสำปะหลังร่วงก่อนกำหนดเป็นผลให้วัชพืชขึ้นแก่งแย่งแข่งขันได้ดี ทำให้มันสำปะหลังสร้างหัวใต้ดินน้อย และผลผลิตลดลงในที่สุด โรคใบจุดสีน้ำตาลแสดงอาการผิดปกติเฉพาะส่วนใบเท่านั้น พบอาการใบจุดในตำแหน่งของใบที่อยู่ด้านล่างมากกว่าใบที่อยู่ด้านบน โดยแสดงอาการผิดปกติใน 2 ระยะ คือ ระยะแรกด้านใบมีลักษณะเป็นจุดสีน้ำตาลค่อนข้างเหลี่ยมตามเส้นใบ มีขอบชัดเจน และเมื่อสังเกตด้านหลังใบพบจุดแผลมีสีเทา เนื่องจากเส้นใยของเชื้อขึ้นปกคลุมส่วนใน ระยะที่สองปรากฏขอบแผลสีเหลืองรอบจุดสีน้ำตาลและ ถ้ารุนแรงขึ้นตรงกลางแผลมีอาการแห้งและหลุดออกเป็นรูกลวง (ศานิต, 2557<ref>ศานิต สวัสดิกาญจน์.  2557.  พืชอุตสาหกรรม(Industrial Field crops).  โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์. กรุงเทพมหานคร.</ref>)  
[[ไฟล์:Image4.png|thumb|ลักษณะอาการของโรคใบจุดสีน้ำตาลบริเวณใบมันสำปะหลัง]]


== ลักษณะอาการ ==
== ลักษณะอาการ ==