ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคใบด่างมันสำปะหลัง"

ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
(สร้างหน้าด้วย "ปัจจุบันโรคใบด่างมันสำปะหลังจัดเป็นโรคที่มีความสำคั...")
 
บรรทัดที่ 2: บรรทัดที่ 2:


== '''ประวัติการเกิดโรค''' ==
== '''ประวัติการเกิดโรค''' ==
โรคใบด่างมันสำปะหลังพบครั้งแรกในปี พ.ศ. 2437 ในแถบชายฝั่งทางตอนใต้ของทวีปแอฟริกา หรือในปัจจุบันคือประเทศแทนซาเนีย โดยตั้งชื่อเชื้อไวรัสชนิดนี้ว่า African cassava mosaic virus (ACMV) (Warburg, 1894) จากนั้นเมื่อเจอโรคใบด่างมันสำปะหลังในแอฟริกาไม่ว่าประเทศใด เกิดจากเชื้อไวรัส ACMD ทั้งหมด จนกระทั่งพบเชื้อที่มีลักษณะเหมือน ACMD เกือบทุกประการ แต่ไม่ทำปฏิกิริยาทางเซรุ่มวิทยากับ anti ACMD โดยพบการแพร่ระบาดในประเทศ เคนย่า ทางทิศตะวันออกของทวีปแอฟริกา จึงเรียกเชื้อชนิดนี้ East african cassava mosaic virus (EACMD) เพื่อให้ทราบเชื้อเจ้าถิ่นอยู่ทางตะวันออก จากนั้นมีการค้นพบเชื้อสาเหตุโรค Cassava mosaic virus (CMD) ในมันสำปะหลังที่อยู่ในกลุ่ม Begomovirus ชนิดใหม่เพิ่มขึ้นอีกหลายชนิด คือ East african common cassava mosaic virus (EACCMV), East african cassava mosaic kenya virus (EACMKV), East african cassava mosaic malawi virus (EACMMV), East african cassava mosaic zanaibar virus (EACMZV) และ South african cassava mosaic virus (SACMV) ซึ่งพบการระบาดเฉพาะในแอฟริกา และอีก 2 ชนิด พบการแพร่ระบาดในประเทศอินเดีย ในปี พ.ศ. 2493 และประเทศศรีลังกา ในปี พ.ศ. 2529 คือ Indian cassava mosaic virus (ICMV) และ Sri Lankan cassava mosaic virus (SLCMV) เพื่อลดความสับสนในการเรียกชื่อ ปัจจุบัน the international committee on taxonomy of viruses (ICTV) ได้ใช้ชื่อรวมเรียกไวรัสในกลุ่มนี้ว่า Cassava mosaic Begomovirus (CMBs) หรือ Cassava mosaic geminiviruses (CMGs) (โสภณ, 2560; ปิยะ และคณะ, 2562)  
โรคใบด่างมันสำปะหลังพบครั้งแรกในปี พ.ศ. 2437 ในแถบชายฝั่งทางตอนใต้ของทวีปแอฟริกา หรือในปัจจุบันคือประเทศแทนซาเนีย โดยตั้งชื่อเชื้อไวรัสชนิดนี้ว่า African cassava mosaic virus (ACMV) (Warburg, 1894) จากนั้นเมื่อเจอโรคใบด่างมันสำปะหลังในแอฟริกาไม่ว่าประเทศใด เกิดจากเชื้อไวรัส ACMD ทั้งหมด จนกระทั่งพบเชื้อที่มีลักษณะเหมือน ACMD เกือบทุกประการ แต่ไม่ทำปฏิกิริยาทางเซรุ่มวิทยากับ anti ACMD โดยพบการแพร่ระบาดในประเทศ เคนย่า ทางทิศตะวันออกของทวีปแอฟริกา จึงเรียกเชื้อชนิดนี้ East african cassava mosaic virus (EACMD) เพื่อให้ทราบเชื้อเจ้าถิ่นอยู่ทางตะวันออก จากนั้นมีการค้นพบเชื้อสาเหตุโรค Cassava mosaic virus (CMD) ในมันสำปะหลังที่อยู่ในกลุ่ม Begomovirus ชนิดใหม่เพิ่มขึ้นอีกหลายชนิด คือ East african common cassava mosaic virus (EACCMV), East african cassava mosaic kenya virus (EACMKV), East african cassava mosaic malawi virus (EACMMV), East african cassava mosaic zanaibar virus (EACMZV) และ South african cassava mosaic virus (SACMV) ซึ่งพบการระบาดเฉพาะในแอฟริกา และอีก 2 ชนิด พบการแพร่ระบาดในประเทศอินเดีย ในปี พ.ศ. 2493 และประเทศศรีลังกา ในปี พ.ศ. 2529 คือ Indian cassava mosaic virus (ICMV) และ Sri Lankan cassava mosaic virus (SLCMV) เพื่อลดความสับสนในการเรียกชื่อ ปัจจุบัน the international committee on taxonomy of viruses (ICTV) ได้ใช้ชื่อรวมเรียกไวรัสในกลุ่มนี้ว่า Cassava mosaic Begomovirus (CMBs) หรือ Cassava mosaic geminiviruses (CMGs) (<ref>โสภณ วงศ์แก้ว.  2560.  ไวรัสใบด่างมันสำปะหลัง: วายร้ายระดับโลก. </ref>; ปิยะ และคณะ, 2562)  


== '''การแพร่ระบาดในโลกแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้''' ==
== '''การแพร่ระบาดในโลกแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้''' ==
บรรทัดที่ 102: บรรทัดที่ 102:
=== -       การผลิตท่อนพันธุ์แบบเร่งรัด X80 ===
=== -       การผลิตท่อนพันธุ์แบบเร่งรัด X80 ===
ตัดท่อนพันธุ์มันสำปะหลังขนาดประมาณ 5-6 เซนติเมตร โดยใช้ใบมีดตัดที่คมเพื่อไม่ให้ท่อนที่ได้มีลักษณะฉีกขาด ส่งผลต่ออัตราการเกิดราก แช่ท่อนพันธุ์ จากนั้นย้ายปลูกลงในวัสดุปลูก ส่วนผสมดังนี้ ขลุ่ยมะพร้าว แกลบดิบ พีทมอส ลงในถาดเพาะปลูก ทำการเพาะเลี้ยงในโรงเรือน รดน้ำเป็นระยะเวลา 1 เดือน ตัดส่วนยอดให้เหลือ 1 ตา นำยอดไปปลูกในถาดเพาะชำ จากนั้นตัดต้นแม่ในข้อต่อไปในเดือนต่อไปทำซ้ำได้ประมาณเพิ่มขึ้น นำออกจากโรงเรือนไปปรับสภาพแวดล้อมเป็นระยะเวลา 1 สัปดาห์  ย้ายลงปลูกในแปลงแบบน้ำหยด (วิจารณ์, 2562)
ตัดท่อนพันธุ์มันสำปะหลังขนาดประมาณ 5-6 เซนติเมตร โดยใช้ใบมีดตัดที่คมเพื่อไม่ให้ท่อนที่ได้มีลักษณะฉีกขาด ส่งผลต่ออัตราการเกิดราก แช่ท่อนพันธุ์ จากนั้นย้ายปลูกลงในวัสดุปลูก ส่วนผสมดังนี้ ขลุ่ยมะพร้าว แกลบดิบ พีทมอส ลงในถาดเพาะปลูก ทำการเพาะเลี้ยงในโรงเรือน รดน้ำเป็นระยะเวลา 1 เดือน ตัดส่วนยอดให้เหลือ 1 ตา นำยอดไปปลูกในถาดเพาะชำ จากนั้นตัดต้นแม่ในข้อต่อไปในเดือนต่อไปทำซ้ำได้ประมาณเพิ่มขึ้น นำออกจากโรงเรือนไปปรับสภาพแวดล้อมเป็นระยะเวลา 1 สัปดาห์  ย้ายลงปลูกในแปลงแบบน้ำหยด (วิจารณ์, 2562)
== อ้างอิง ==
*
[[หมวดหมู่:โรค]]