ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง"

ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
มันสำปะหลัง เป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศไทย ซึ่งประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังรายใหญ่ที่สุดของโลก ในปี 2556 มีการส่งออกในรูปมันเส้นและมันอัดเม็ดประมาณ 3 ล้านตัน และส่งออกในรูปแป้งมันสำปะหลังประมาณ 1.32 ล้านตัน โดยมีมูลค่าการส่งออกรวมมากกว่า 50,000 ล้านบาท พื้นที่ผลิตมันสำปะหลังของประเทศไทยประมาณ 6.52 ล้านไร่ กระจายอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคเหนือ คิดเป็น 54.74 31.74 และ 13.52 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ทั้งหมดตามลำดับ ได้ผลผลิตรวมประมาณ 30 ล้านตันหัวมันสด (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2556)
มันสำปะหลัง เป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศไทย ซึ่งประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังรายใหญ่ที่สุดของโลก ในปี 2556 มีการส่งออกในรูปมันเส้นและมันอัดเม็ดประมาณ 3 ล้านตัน และส่งออกในรูปแป้งมันสำปะหลังประมาณ 1.32 ล้านตัน โดยมีมูลค่าการส่งออกรวมมากกว่า 50,000 ล้านบาท พื้นที่ผลิตมันสำปะหลังของประเทศไทยประมาณ 6.52 ล้านไร่ กระจายอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคเหนือ คิดเป็น 54.74 31.74 และ 13.52 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ทั้งหมดตามลำดับ ได้ผลผลิตรวมประมาณ 30 ล้านตันหัวมันสด<ref>สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2556. สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำคัญและแนวโน้มปี 2556: มันสำปะหลัง. แหล่งที่มา: <nowiki>http://www.oae.go.th/ewt_news.php?nid=13577</nowiki>.</ref>


ระบบการผลิตมันสำปะหลังของเกษตรกรโดยทั่วไป ประกอบด้วยขั้นตอนย่อย ๆ หลายขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนการเตรียมดิน การปลูก การบำรุงรักษา การจัดการวัชพืช การจัดการด้านโรค-แมลง การเก็บเกี่ยว และรวบรวมหัวมันขึ้นรถบรรทุก ซึ่งเกษตรกรจะนำเครื่องมือจักรกลเกษตรเข้ามาช่วยดำเนินการในบางขั้นตอน แต่โดยทั่วไปยังคงใช้แรงงานคนทำงานเป็นหลัก ขั้นตอนเก็บเกี่ยวและรวบรวมหัวมันขึ้นรถบรรทุกเป็นขั้นตอนที่ใช้แรงงานมากที่สุด โดยมีค่าเท่ากับ 54.5 เปอร์เซ็นต์ของแรงงานทั้งหมด และยังพบว่าค่าใช้จ่ายด้านค่าจ้างแรงงานมีมูลค่าถึง 60 เปอร์เซ็นต์ของต้นทุนการผลิตทั้งหมด (Sukra, 1996)
ระบบการผลิตมันสำปะหลังของเกษตรกรโดยทั่วไป ประกอบด้วยขั้นตอนย่อย ๆ หลายขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนการเตรียมดิน การปลูก การบำรุงรักษา การจัดการวัชพืช การจัดการด้านโรค-แมลง การเก็บเกี่ยว และรวบรวมหัวมันขึ้นรถบรรทุก ซึ่งเกษตรกรจะนำเครื่องมือจักรกลเกษตรเข้ามาช่วยดำเนินการในบางขั้นตอน แต่โดยทั่วไปยังคงใช้แรงงานคนทำงานเป็นหลัก ขั้นตอนเก็บเกี่ยวและรวบรวมหัวมันขึ้นรถบรรทุกเป็นขั้นตอนที่ใช้แรงงานมากที่สุด โดยมีค่าเท่ากับ 54.5 เปอร์เซ็นต์ของแรงงานทั้งหมด และยังพบว่าค่าใช้จ่ายด้านค่าจ้างแรงงานมีมูลค่าถึง 60 เปอร์เซ็นต์ของต้นทุนการผลิตทั้งหมด<ref name=":0">Sukra, A.B. 1996. Performance of API cassava root digger elevator. MARDI Report, no. 187.  Agricultural Research and Development Institute, Kuala Lumpur.</ref>


เนื่องจากภายหลังการเก็บเกี่ยว จำเป็นต้องลำเลียงหัวมันสดออกจากแปลงเพื่อนำไปส่งยังโรงงานแปรรูปภายในวันเดียวกันให้หมด มิฉะนั้นหัวมันสดที่มีความชื้นสูงจะเกิดการเสื่อมสภาพและทำให้ปริมาณแป้งลดลงซึ่งมีผลต่อราคารับซื้อหัวมันสด ดังนั้นเพื่อประหยัดค่าขนส่ง เกษตรกรจึงพยายามเก็บเกี่ยวในแต่ละวันให้ได้ปริมาณหัวมันเต็มรถบรรทุก ซึ่งรถบรรทุกที่เกษตรกรจัดหาได้มักมีขนาด 6-9 ตัน ทำให้เกษตรกรต้องเก็บเกี่ยวประมาณ 2-4 ไร่ต่อวัน ซึ่งหมายถึงเกษตรต้องจัดการให้มีการขุด 2-4 ไร่ต่อวัน จากนั้นจึงรวมกอง ตัดเหง้า และขนขึ้นรถบรรทุก ให้เสร็จสิ้นในช่วงบ่ายวันเดียวกัน
เนื่องจากภายหลังการเก็บเกี่ยว จำเป็นต้องลำเลียงหัวมันสดออกจากแปลงเพื่อนำไปส่งยังโรงงานแปรรูปภายในวันเดียวกันให้หมด มิฉะนั้นหัวมันสดที่มีความชื้นสูงจะเกิดการเสื่อมสภาพและทำให้ปริมาณแป้งลดลงซึ่งมีผลต่อราคารับซื้อหัวมันสด ดังนั้นเพื่อประหยัดค่าขนส่ง เกษตรกรจึงพยายามเก็บเกี่ยวในแต่ละวันให้ได้ปริมาณหัวมันเต็มรถบรรทุก ซึ่งรถบรรทุกที่เกษตรกรจัดหาได้มักมีขนาด 6-9 ตัน ทำให้เกษตรกรต้องเก็บเกี่ยวประมาณ 2-4 ไร่ต่อวัน ซึ่งหมายถึงเกษตรต้องจัดการให้มีการขุด 2-4 ไร่ต่อวัน จากนั้นจึงรวมกอง ตัดเหง้า และขนขึ้นรถบรรทุก ให้เสร็จสิ้นในช่วงบ่ายวันเดียวกัน


ดังนั้น การนำกำลังงานจากเครื่องจักรกลเกษตรเข้ามาใช้ทดแทนแรงงานคนในการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง จึงเป็นทางเลือกสำคัญที่จะช่วยให้เกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังสามารถแก้ปัญหาการขาดแคลนแรงงานในการเก็บเกี่ยวได้ ปัจจุบันพบว่ามีการนำเครื่องมือจักรกลเกษตรเข้ามาใช้ในกระบวนการปลูกและการเก็บเกี่ยว เนื่องจากปัญหาเรื่องต้นทุนในการจ้างแรงงานในภาคการเกษตรมีแนวโน้มเพิ่มสูงมากขึ้น (มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย, 2547)
ดังนั้น การนำกำลังงานจากเครื่องจักรกลเกษตรเข้ามาใช้ทดแทนแรงงานคนในการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง จึงเป็นทางเลือกสำคัญที่จะช่วยให้เกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังสามารถแก้ปัญหาการขาดแคลนแรงงานในการเก็บเกี่ยวได้ ปัจจุบันพบว่ามีการนำเครื่องมือจักรกลเกษตรเข้ามาใช้ในกระบวนการปลูกและการเก็บเกี่ยว เนื่องจากปัญหาเรื่องต้นทุนในการจ้างแรงงานในภาคการเกษตรมีแนวโน้มเพิ่มสูงมากขึ้น<ref name=":1">มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสําปะหลังแห่งประเทศไทย. 2547.  เกี่ยวกับมันสําปะหลัง.  <nowiki>http://www.tapiocathai.org</nowiki>.</ref>


จากผลการศึกษารูปแบบการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังในปัจจุบัน และข้อมูลที่เกี่ยวข้องโดยเก็บข้อมูล อัตราการทำงานและความต้องการแรงงานของกระบวนการ ดังแสดงไว้ในตาราง 1 โดยจากตารางพบว่าอัตราการทำงานของกระบวนการเก็บเกี่ยวรวมทั้งกระบวนการ คือ 2.61 ไร่/คน-ชั่วโมง และมีความต้องการแรงงาน คือ 11.3 คน-ชั่วโมง/ไร่ โดยการดำเนินงานภายหลังการเก็บเกี่ยว มีความต้องการแรงงานมากที่สุด และใช้เวลาในการทำงานสูงที่สุด (ชัยยันต์ และเสรี, 2556)
จากผลการศึกษารูปแบบการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังในปัจจุบัน และข้อมูลที่เกี่ยวข้องโดยเก็บข้อมูล อัตราการทำงานและความต้องการแรงงานของกระบวนการ ดังแสดงไว้ในตาราง 1 โดยจากตารางพบว่าอัตราการทำงานของกระบวนการเก็บเกี่ยวรวมทั้งกระบวนการ คือ 2.61 ไร่/คน-ชั่วโมง และมีความต้องการแรงงาน คือ 11.3 คน-ชั่วโมง/ไร่ โดยการดำเนินงานภายหลังการเก็บเกี่ยว มีความต้องการแรงงานมากที่สุด และใช้เวลาในการทำงานสูงที่สุด<ref>ชัยยันต์ จันทร์ศิริ. 2560. การพัฒนาระบบการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังในประเทศไทย. Postharvest Newsletter. มหาวิทยลัยข่อนแก่น: <nowiki>https://www.phtnet.org/2017/06/348/</nowiki>. 11 มีนาคม 2564.</ref>


== '''การเก็บเกี่ยวและการเก็บรักษา''' ==
== '''การเก็บเกี่ยวและการเก็บรักษา''' ==
โดยทั่วไปมันสําปะหลังภายหลังการเก็บเกี่ยวซึ่งเป็นหัวมันสดจะมีน้ำเป็นส่วนประกอบ 60-65 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก ดังนั้นจึงมีอัตราการเสื่อมคุณภาพที่รวดเร็วมากโดยเฉพาะในสภาพอากาศร้อนชื้น อย่างเช่นประเทศไทย ซึ่งลักษณะการเสื่อมคุณภาพที่ปรากฏให้เห็นในช่วง 3 วันภายหลังการเก็บเกี่ยวเป็นการเสื่อมคุณภาพทางสรีระวิทยา (Physiological Deterioration) โดยสีของเนื้อมันสําปะหลังเริ่มเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงินหรือฟ้าเงินปนดํา หลังจากนั้นก็จะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล และเปอร์เซ็นต์แป้งในหัวมันลดลง ส่งผลกระทบต่อราคาขาย หลังจากนั้นหัวมันจะเริ่มเน่า ซึ่งเป็นการเสื่อมคุณภาพเนื่องจากการเข้าทําลายของจุลินทรีย์ (กรมวิชาการเกษตร, 2537)
โดยทั่วไปมันสําปะหลังภายหลังการเก็บเกี่ยวซึ่งเป็นหัวมันสดจะมีน้ำเป็นส่วนประกอบ 60-65 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก ดังนั้นจึงมีอัตราการเสื่อมคุณภาพที่รวดเร็วมากโดยเฉพาะในสภาพอากาศร้อนชื้น อย่างเช่นประเทศไทย ซึ่งลักษณะการเสื่อมคุณภาพที่ปรากฏให้เห็นในช่วง 3 วันภายหลังการเก็บเกี่ยวเป็นการเสื่อมคุณภาพทางสรีระวิทยา (Physiological Deterioration) โดยสีของเนื้อมันสําปะหลังเริ่มเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงินหรือฟ้าเงินปนดํา หลังจากนั้นก็จะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล และเปอร์เซ็นต์แป้งในหัวมันลดลง ส่งผลกระทบต่อราคาขาย หลังจากนั้นหัวมันจะเริ่มเน่า ซึ่งเป็นการเสื่อมคุณภาพเนื่องจากการเข้าทําลายของจุลินทรีย์<ref>กรมวิชาการเกษตร. 2537. เอกสารวิชาการมันสำปะหลัง. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ม กรุงเทพฯ.</ref>


การเก็บเกี่ยวมันสําปะหลังประกอบด้วยกิจกรรมหลายขั้นตอน คือขั้นตอนการขุดมันสําปะหลังขึ้นจากพื้นดิน ขั้นตอนการรวมกองและตัดเหง้า และขั้นตอนการขนย้ายหัวมันขึ้นรถบรรทุก ซึ่งโดยทั่วไปขั้นตอนการขุดมันสําปะหลังเป็นขั้นตอนที่ใช้กําลังงานมากที่สุดและใช้เวลามากที่สุดเนื่องจากฤดูเก็บเกี่ยวมัสําปะหลังตรงกับฤดูแล้ง ทําให้ดินค่อนข้างแข็งโดยเฉพาะในเดือน ม.ค. - เม.ย. แม้ว่าปัจจุบันจะมีการนําเครื่อง/อุปกรณ์ขุดมันสําปะหลังซึ่งใช้รถแทรกเตอร์สี่ล้อเป็นต้นกําลัง มาช่วยงานเก็บเกี่ยวมันสําปะหลังแต่ไม่พบการใช้งานเครื่อง/อุปกรณ์ขุดมันสําปะหลังซึ่งใช้รถไถเดินตามเป็นต้นกําลัง (เสรี, 2551)
การเก็บเกี่ยวมันสําปะหลังประกอบด้วยกิจกรรมหลายขั้นตอน คือขั้นตอนการขุดมันสําปะหลังขึ้นจากพื้นดิน ขั้นตอนการรวมกองและตัดเหง้า และขั้นตอนการขนย้ายหัวมันขึ้นรถบรรทุก ซึ่งโดยทั่วไปขั้นตอนการขุดมันสําปะหลังเป็นขั้นตอนที่ใช้กําลังงานมากที่สุดและใช้เวลามากที่สุดเนื่องจากฤดูเก็บเกี่ยวมัสําปะหลังตรงกับฤดูแล้ง ทําให้ดินค่อนข้างแข็งโดยเฉพาะในเดือน ม.ค. - เม.ย. แม้ว่าปัจจุบันจะมีการนําเครื่อง/อุปกรณ์ขุดมันสําปะหลังซึ่งใช้รถแทรกเตอร์สี่ล้อเป็นต้นกําลัง มาช่วยงานเก็บเกี่ยวมันสําปะหลังแต่ไม่พบการใช้งานเครื่อง/อุปกรณ์ขุดมันสําปะหลังซึ่งใช้รถไถเดินตามเป็นต้นกําลัง<ref name=":2">เสรี วงส์พิเชษฐ. 2551. โครงการการวิจัยและพัฒนาเครื่องขุดมันสําปะหลังโดยใช้รถไถเดนตามเปลี่ยนต้นกําลัง. ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว. 43 หน้า.</ref>


ระยะเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม เก็บเกี่ยวได้ตั้งแต่อายุ 8-12 เดือน แต่อายุเก็บเกี่ยวที่เหมาะสมคือ 12 เดือนหลังปลูก และไม่ควรเก็บเกี่ยวในช่วงที่มีฝนตกชุก เนื่องจากหัวมันสำปะหลังจะมีเปอร์เซ็นต์แป้งต่ำ (กรมวิชาการเกษตร, 2547)
ระยะเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม เก็บเกี่ยวได้ตั้งแต่อายุ 8-12 เดือน แต่อายุเก็บเกี่ยวที่เหมาะสมคือ 12 เดือนหลังปลูก และไม่ควรเก็บเกี่ยวในช่วงที่มีฝนตกชุก เนื่องจากหัวมันสำปะหลังจะมีเปอร์เซ็นต์แป้งต่ำ<ref>กรมวิชาการเกษตร. 2547. เอกสารวิชาการมันสำปะหลัง. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ม กรุงเทพฯ.</ref>


== '''อายุของต้นมันสำปะหลังก่อนเก็บเกี่ยว''' ==
== '''อายุของต้นมันสำปะหลังก่อนเก็บเกี่ยว''' ==
มันสำปะหลังเป็นพืชอายุยาว สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตเมื่อใดก็ได้ ผลผลิตหัวสดจะเพิ่มขึ้นตามอายุที่มากขึ้น จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำฝนที่มันสำปะหลังได้รับ ในขณะที่ปริมาณแป้งในหัวของทุกพันธุ์จะสามารถวัดได้ตั้งแต่เดือนที่ 4 หลังปลูก สำหรับประเทศไทยเกษตรกรส่วนใหญ่เก็บเกี่ยวมันสำปะหลังที่อายุ 9-12 เดือน อย่างไรก็ตามอายุที่เหมาะสมในการเก็บเกี่ยวจะขึ้นกับพันธุ์ที่ใช้ปลูกด้วย  
มันสำปะหลังเป็นพืชอายุยาว สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตเมื่อใดก็ได้ ผลผลิตหัวสดจะเพิ่มขึ้นตามอายุที่มากขึ้น จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำฝนที่มันสำปะหลังได้รับ ในขณะที่ปริมาณแป้งในหัวของทุกพันธุ์จะสามารถวัดได้ตั้งแต่เดือนที่ 4 หลังปลูก สำหรับประเทศไทยเกษตรกรส่วนใหญ่เก็บเกี่ยวมันสำปะหลังที่อายุ 9-12 เดือน อย่างไรก็ตามอายุที่เหมาะสมในการเก็บเกี่ยวจะขึ้นกับพันธุ์ที่ใช้ปลูกด้วย  


บุญเหลือ และคณะ (2549) ได้ศึกษาผลของอายุเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 7 ที่อายุ 8 10 12 14 และ 16 เดือนหลังปลูก พบว่าการเจริญเติบโตทางด้านความสูงที่อายุ 8 เดือนมีความสูงต่ำที่สุด ที่อายุ 12 14 และ 16 เดือนมีความสูงไม่แตกต่างกันและเมื่อนำข้อมูล 2 ปีที่ปลูกมาวิเคราะห์ความแปรปรวนพบว่าการเก็บเกี่ยวที่อายุตั้งแต่ 10-16 เดือน ไม่ทำให้ผลผลิตหัวสดแตกต่างกันทางสถิติ ซึ่งอยู่ระหว่าง 4,815-6,082 กก./ไร่ แต่การเก็บเกี่ยวที่อายุ 12 และ 14 เดือน เปอร์เซ็นต์แป้งสูงสุดและไม่แตกต่างกันทางสถิติคือ 32.1 และ33.6 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ  
บุญเหลือ และคณะ (2549)<ref>บุญเหลือ ศรีมุงคุณ, จำลอง กกรัมย์ และวงเดือน ประสมทอง. 2549. ผลของอายุเก็บเกี่ยวและการจักการวัชพืชต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของมันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 7. ศูนย์วิจัยพืชไร่อุบลราชธานี กรมวิชาการเกษตร,: 30 หน้า.</ref> ได้ศึกษาผลของอายุเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 7 ที่อายุ 8 10 12 14 และ 16 เดือนหลังปลูก พบว่าการเจริญเติบโตทางด้านความสูงที่อายุ 8 เดือนมีความสูงต่ำที่สุด ที่อายุ 12 14 และ 16 เดือนมีความสูงไม่แตกต่างกันและเมื่อนำข้อมูล 2 ปีที่ปลูกมาวิเคราะห์ความแปรปรวนพบว่าการเก็บเกี่ยวที่อายุตั้งแต่ 10-16 เดือน ไม่ทำให้ผลผลิตหัวสดแตกต่างกันทางสถิติ ซึ่งอยู่ระหว่าง 4,815-6,082 กก./ไร่ แต่การเก็บเกี่ยวที่อายุ 12 และ 14 เดือน เปอร์เซ็นต์แป้งสูงสุดและไม่แตกต่างกันทางสถิติคือ 32.1 และ33.6 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ  


         สำนักวิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดิน (ม.ป.ป.) อย่างไรก็ตามการเก็บเกี่ยวเมื่ออายุมากกว่า 12 เดือน จะมีผลทำให้น้ำหนักหัวมันสดมากกว่าการเก็บเกี่ยวเมื่ออายุ 12 เดือน แต่จะมีคุณภาพตรงกับความต้องการของตลาด และช่วยให้การปลูกในฤดูถัดไปอยู่ในช่วงฤดูฝน แต่โดยทั่วไปเกษตรกรนิยมเก็บเกี่ยวเมื่อราคามันสำปะหลังสูง และนอกจากนี้เกษตรกรต้องคำนึงถึงความจำเป็นทางเศษฐกิจ ฤดูกาลแรงงานที่จะใช้เก็บเกี่ยวด้วย  
         อย่างไรก็ตามการเก็บเกี่ยวเมื่ออายุมากกว่า 12 เดือน จะมีผลทำให้น้ำหนักหัวมันสดมากกว่าการเก็บเกี่ยวเมื่ออายุ 12 เดือน แต่จะมีคุณภาพตรงกับความต้องการของตลาด และช่วยให้การปลูกในฤดูถัดไปอยู่ในช่วงฤดูฝน แต่โดยทั่วไปเกษตรกรนิยมเก็บเกี่ยวเมื่อราคามันสำปะหลังสูง และนอกจากนี้เกษตรกรต้องคำนึงถึงความจำเป็นทางเศษฐกิจ ฤดูกาลแรงงานที่จะใช้เก็บเกี่ยวด้วย<ref name=":3">สำนักวิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดิน. ม.ป.ป.. มันสำปะหลัง.เอกสารวิชาการฉบับที่ 1001- Do 46.01. กรมพัฒนาที่ดิน. กรุงเทพฯ.: 97 หน้า'''.'''</ref>


         การปลูกมันสำปะหลังกลางฤดูฝนถ้าเก็บเกี่ยวเมื่ออายุ 12 เดือน จะได้ผลผลิตต่ำเพียง 1-2 ตัน/ไร่ เนื่องจากต้นมันสำปะหลังได้รับปริมาณฝนน้อยไม่เพียงพอต่อการเจริญเติบโตและการสะสมอาหารได้น้อย (วุฒิศักดิ์ และคณะ, 2539) และเมื่อได้รับน้ำฝนมันสำปะหลังจะนำแป้งที่สะสมไว้ในหัวมาใช้สร้างต้นและใบใหม่ เมื่อเก็บเกี่ยวในช่วงต้นฤดูฝน ผลผลิตมันแห้ง และแป้งจะลดลง (โอภาษ และคณะ, 2543) ส่วนการปลูกมันสำปะหลังปลายฤดูฝนจะเก็บเกี่ยวในช่วงฤดูแล้ง ทำให้ได้ผลผลิตมันแห้งและแป้งสูง เพราะดินมความชื้นน้อย ทำให้หัวมันสำปะหลังมีน้ำน้อยลง จึงทำให้เปอร์เซ็นต์แป้งสูงขึ้น (วุฒิศักดิ์ และ คณะ, 2539) การปลูกมันสำปะหลังนอกฤดูฝน (พฤศจิกายน-เมษายน) ให้ผลผลิตต่ำกว่าการปลูกในช่วงฤดูฝนถึง 25 เปอร์เซ็นต์ (สมพงษ์, 2537)
         การปลูกมันสำปะหลังกลางฤดูฝนถ้าเก็บเกี่ยวเมื่ออายุ 12 เดือน จะได้ผลผลิตต่ำเพียง 1-2 ตัน/ไร่ เนื่องจากต้นมันสำปะหลังได้รับปริมาณฝนน้อยไม่เพียงพอต่อการเจริญเติบโตและการสะสมอาหารได้น้อย<ref name=":4">วุฒิศักดิ์ พรพรหมประทาน, ประวัติ อุทโยภาศ และอนุชิต ทองกล่ำ. 2539. การเก็บเกี่ยวที่เหมาะสมของมันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 5 ที่ปลูกกลางฤดูฝน. หน้า 226-229. ใน รายงานผลงานวิจัยประจำปี 2539 มันสำปะหลัง. ศูนย์วิจัยพืชไร่ระยอง สถาบันวิจัยพืชไร่ กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.</ref> และเมื่อได้รับน้ำฝนมันสำปะหลังจะนำแป้งที่สะสมไว้ในหัวมาใช้สร้างต้นและใบใหม่ เมื่อเก็บเกี่ยวในช่วงต้นฤดูฝน ผลผลิตมันแห้ง และแป้งจะลดลง<ref>โอภาษ บุญเส็ง, ดนัย ศุภาหาร, ดลใจ แพทย์กะโทก และเมธี คำหุ่ง. 2543. การเปรียบเทียบพันธุ์มันสำปะหลังในไร่เกษตรกรเพื่อปลูกปลายฝน. หน้า 347-356. ใน รายงานผลงานวิจัย 2543 มันสำปะหลัง. สถาบันวิจัยพืชไร่ กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.</ref> ส่วนการปลูกมันสำปะหลังปลายฤดูฝนจะเก็บเกี่ยวในช่วงฤดูแล้ง ทำให้ได้ผลผลิตมันแห้งและแป้งสูง เพราะดินมความชื้นน้อย ทำให้หัวมันสำปะหลังมีน้ำน้อยลง จึงทำให้เปอร์เซ็นต์แป้งสูงขึ้น<ref name=":4" /> การปลูกมันสำปะหลังนอกฤดูฝน (พฤศจิกายน-เมษายน) ให้ผลผลิตต่ำกว่าการปลูกในช่วงฤดูฝนถึง 25 เปอร์เซ็นต์<ref>สมพงษ์ กาทอง. 2537. การเขตกรรมมันสำปะหลัง. หน้า 71-83. ใน เอกสารวิชาการมันสำปะหลัง. ศูนย์วิจัยพืชไร่ระยอง สถาบันวิจัยพืชไร่ กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.</ref>


== '''ช่วงเวลาขุดเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม''' ==
== '''ช่วงเวลาขุดเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม''' ==
บรรทัดที่ 49: บรรทัดที่ 49:


== '''ต้นทุนและการเก็บเกี่ยว''' ==
== '''ต้นทุนและการเก็บเกี่ยว''' ==
จากต้นทุนการผลิตมันสําปะหลังทั้งหมด มีค่าใช้จ่ายในการเก็บเกี่ยวถึง 34.15 เปอร์เซ็นต์ รองลงมาเป็นค่าขนส่ง 24.39 เปอร์เซ็นต์ (สํานักงานเกษตรอําเภอลําสนธิจังหวัดลพบุรี, 2552) ซึ่งค่าใช้จ่ายในการเก็บเกี่ยวเป็นค่าใช้จ่ายส่วนที่สําคัญที่สุดของต้นทุนการผลิตมันสําปะหลัง ทั้งนี้อาจเนื่องจากวิธีการเก็บเกี่ยวมันสําปะหลัง ส่วนใหญ่ใช้แรงงานคนในการขุดด้วยจอบ หรือใช้คานงัดถ้าหากดินมีความชื้นหรือพื้นที่ปลูกเป็นดินทรายมีความร่วนซุยมากก็อาจใช้วิธีการถอน และสําหรับพื้นที่ซึ่งเก็บเกี่ยวในหน้าแล้งดินแห้งหรือแข็งก็จะใช้จอบขุดแบบประยุกต์เพื่อช่วยทุ่นแรง หลังจากนั้นก็มีการสับหัวมันออกจากเหง้าแล้วขนส่งด้วยรถบรรทุกเข้าสู่โรงงานแปรสภาพต่อไป
จากต้นทุนการผลิตมันสําปะหลังทั้งหมด มีค่าใช้จ่ายในการเก็บเกี่ยวถึง 34.15 เปอร์เซ็นต์ รองลงมาเป็นค่าขนส่ง 24.39 เปอร์เซ็นต์<ref>สํานักงานเกษตรอําเภอลําสนธิจังหวัดลพบุรี. 2552. ต้นทุนการผลิตพืช.  Available from :<nowiki>http://lopburi.doae.go.th/lamsonti/tontun.htm</nowiki>.</ref> ซึ่งค่าใช้จ่ายในการเก็บเกี่ยวเป็นค่าใช้จ่ายส่วนที่สําคัญที่สุดของต้นทุนการผลิตมันสําปะหลัง ทั้งนี้อาจเนื่องจากวิธีการเก็บเกี่ยวมันสําปะหลัง ส่วนใหญ่ใช้แรงงานคนในการขุดด้วยจอบ หรือใช้คานงัดถ้าหากดินมีความชื้นหรือพื้นที่ปลูกเป็นดินทรายมีความร่วนซุยมากก็อาจใช้วิธีการถอน และสําหรับพื้นที่ซึ่งเก็บเกี่ยวในหน้าแล้งดินแห้งหรือแข็งก็จะใช้จอบขุดแบบประยุกต์เพื่อช่วยทุ่นแรง หลังจากนั้นก็มีการสับหัวมันออกจากเหง้าแล้วขนส่งด้วยรถบรรทุกเข้าสู่โรงงานแปรสภาพต่อไป


         จากผลการศึกษาของ A. B. Sukra (1996) พบว่าขั้นตอนที่ต้องการแรงงานมากที่สุดเป็นขั้นตอนการเก็บเกี่ยวและรวบรวมหัวมันขึ้นรถบรรทุก โดยต้องการแรงงานเท่ากับ 54.5 เปอร์เซ็นต์ของแรงงานทั้งหมดในการผลิตมันสําปะหลัง
         จากผลการศึกษาของ A. B. Sukra (1996)<ref name=":0" /> พบว่าขั้นตอนที่ต้องการแรงงานมากที่สุดเป็นขั้นตอนการเก็บเกี่ยวและรวบรวมหัวมันขึ้นรถบรรทุก โดยต้องการแรงงานเท่ากับ 54.5 เปอร์เซ็นต์ของแรงงานทั้งหมดในการผลิตมันสําปะหลัง


         เนื่องจากการเก็บเกี่ยวมันสําปะหลัง ต้องใช้แรงงานจํานวนมากเช่น โรงงานผลิตแป้งมันขนาด 150 ตันแป้ง/วัน ต้องใช้หัวมันสําปะหลังสด 650–750 ตัน ซึ่งต้องใช้คนขุด 650–750 คนต่อวัน เป็นต้น (ศุภวัฒน์ปากเมย 2540) จากการศึกษาลักษณะของแรงงานที่ใช้ในการดําเนินงานภายหลังเก็บเกี่ยว (เชิดพงษ์, 2549) พบว่าโดยทั่วไปเป็นแรงงานภายในหมู่บ้านของเกษตรกรเอง และหมู่บ้านใกล้เคียง ซึ่งมีทั้งแรงงานวัยทํางานทั้งเพศชายและหญิง และแรงงานเด็กการเก็บเกี่ยวในพื้นที่ของเกษตรกรรายย่อย โดยทั่วไปจะเก็บเกี่ยวโดยใช้แรงงานในครัวเรือนเป็นหลักในการดําเนินการจึงมีอัตราการเก็บเกี่ยวช้าและต้องรอรวบรวมผลผลิตหัวมันสดให้เต็มรถบรรทุกเพื่อประหยัดค่าขนส่งโดยทั่วไปใช้เวลารวบรวมประมาณ 1-3 วัน
         เนื่องจากการเก็บเกี่ยวมันสําปะหลัง ต้องใช้แรงงานจํานวนมากเช่น โรงงานผลิตแป้งมันขนาด 150 ตันแป้ง/วัน ต้องใช้หัวมันสําปะหลังสด 650–750 ตัน ซึ่งต้องใช้คนขุด 650–750 คนต่อวัน เป็นต้น<ref>ศุภวัฒน์ ปากเมย. 2540. การออกแบบและประเมินผลเครื่องขุดมันสําปะหลัง. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตรคณะวิศวกรรมศาสตร์. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.</ref> จากการศึกษาลักษณะของแรงงานที่ใช้ในการดําเนินงานภายหลังเก็บเกี่ยว<ref>เชิดพงษ์ เชี่ยวชาญวัฒนา. 2549. การออกแบบและทดสอบอุปกรณ์ช่วยขนย้ายมันสําปะหลังขึ้นรถบรรทุก. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตรคณะวิศวกรรมศาสตร์. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.</ref> พบว่าโดยทั่วไปเป็นแรงงานภายในหมู่บ้านของเกษตรกรเอง และหมู่บ้านใกล้เคียง ซึ่งมีทั้งแรงงานวัยทํางานทั้งเพศชายและหญิง และแรงงานเด็กการเก็บเกี่ยวในพื้นที่ของเกษตรกรรายย่อย โดยทั่วไปจะเก็บเกี่ยวโดยใช้แรงงานในครัวเรือนเป็นหลักในการดําเนินการจึงมีอัตราการเก็บเกี่ยวช้าและต้องรอรวบรวมผลผลิตหัวมันสดให้เต็มรถบรรทุกเพื่อประหยัดค่าขนส่งโดยทั่วไปใช้เวลารวบรวมประมาณ 1-3 วัน


== '''การขุดเก็บเกี่ยว''' ==
== '''การขุดเก็บเกี่ยว''' ==
วิธีการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังของเกษตรกรไทยปัจจุบัน อาจจำแนกออกเป็น 2 แบบ คือ แบบดั้งเดิมซึ่งขุดมันสำปะหลังด้วยแรงงานคนโดยใช้จอบ/อุปกรณ์ถอนต้น และตัดหัวมันออกจากเหง้าด้วยแรงงานคน และแบบที่เริ่มนิยมใช้งาน คือขุดด้วยเครื่องขุดมันสำปะหลัง และตัดหัวมันออกจากเหง้าด้วยแรงงานคน สำหรับวิธีการตัดหัวมันออกจากเหง้าภายหลังการเก็บเกี่ยวมีเพียงรูปแบบเดียว คือ ใช้แรงงานคนตัวหัวมันสำปะหลัง ก่อนลำเลียงขึ้นรถบรรทุก (ชัยยันต์, 2560)
วิธีการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังของเกษตรกรไทยปัจจุบัน อาจจำแนกออกเป็น 2 แบบ คือ แบบดั้งเดิมซึ่งขุดมันสำปะหลังด้วยแรงงานคนโดยใช้จอบ/อุปกรณ์ถอนต้น และตัดหัวมันออกจากเหง้าด้วยแรงงานคน และแบบที่เริ่มนิยมใช้งาน คือขุดด้วยเครื่องขุดมันสำปะหลัง และตัดหัวมันออกจากเหง้าด้วยแรงงานคน สำหรับวิธีการตัดหัวมันออกจากเหง้าภายหลังการเก็บเกี่ยวมีเพียงรูปแบบเดียว คือ ใช้แรงงานคนตัวหัวมันสำปะหลัง ก่อนลำเลียงขึ้นรถบรรทุก<ref name=":5">ชัยยันต์ จันทร์ศิริ. 2560. การพัฒนาระบบการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังในประเทศไทย. Postharvest Newsletter. มหาวิทยลัยข่อนแก่น: <nowiki>https://www.phtnet.org/2017/06/348/</nowiki>. 11 มีนาคม 2564.</ref>


เนื่องจากภายหลังการเก็บเกี่ยว จำเป็นต้องลำเลียงหัวมันสดออกจากแปลงเพื่อนำไปส่งยังโรงงานแปรรูปภายในวันเดียวกันให้หมด มิฉะนั้นหัวมันสดที่มีความชื้นสูงจะเกิดการเสื่อมสภาพและทำให้ปริมาณแป้งลดลงซึ่งมีผลต่อราคารับซื้อหัวมันสด ดังนั้นเพื่อประหยัดค่าขนส่ง เกษตรกรจึงพยายามเก็บเกี่ยวในแต่ละวันให้ได้ปริมาณหัวมันเต็มรถบรรทุก ซึ่งรถบรรทุกที่เกษตรกรจัดหาได้มักมีขนาด 6-9 ตัน ทำให้เกษตรกรต้องเก็บเกี่ยวประมาณ 2-4 ไร่ต่อวัน ซึ่งหมายถึงเกษตรต้องจัดการให้มีการขุด 2-4 ไร่ต่อวัน จากนั้นจึงรวมกอง ตัดเหง้า และขนขึ้นรถบรรทุก ให้เสร็จสิ้นในช่วงบ่ายวันเดียวกัน (ชัยยันต์, 2560)
เนื่องจากภายหลังการเก็บเกี่ยว จำเป็นต้องลำเลียงหัวมันสดออกจากแปลงเพื่อนำไปส่งยังโรงงานแปรรูปภายในวันเดียวกันให้หมด มิฉะนั้นหัวมันสดที่มีความชื้นสูงจะเกิดการเสื่อมสภาพและทำให้ปริมาณแป้งลดลงซึ่งมีผลต่อราคารับซื้อหัวมันสด ดังนั้นเพื่อประหยัดค่าขนส่ง เกษตรกรจึงพยายามเก็บเกี่ยวในแต่ละวันให้ได้ปริมาณหัวมันเต็มรถบรรทุก ซึ่งรถบรรทุกที่เกษตรกรจัดหาได้มักมีขนาด 6-9 ตัน ทำให้เกษตรกรต้องเก็บเกี่ยวประมาณ 2-4 ไร่ต่อวัน ซึ่งหมายถึงเกษตรต้องจัดการให้มีการขุด 2-4 ไร่ต่อวัน จากนั้นจึงรวมกอง ตัดเหง้า และขนขึ้นรถบรรทุก ให้เสร็จสิ้นในช่วงบ่ายวันเดียวกัน (ชัยยันต์, 2560)<ref name=":5" />


ดังนั้นการนำเครื่องจักรกลเกษตรเข้ามาใช้ทดแทนแรงงานคนในการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง จึงเป็นทางเลือกสำคัญที่จะช่วยให้เกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังสามารถแก้ปัญหาการขาดแคลนแรงงานในการเก็บเกี่ยวได้ ปัจจุบันพบว่ามีการนำเครื่องมือจักรกลเกษตรเข้ามาใช้ในกระบวนการปลูกและการเก็บเกี่ยว เนื่องจากปัญหาเรื่องต้นทุนในการจ้างแรงงานในภาคการเกษตรมีแนวโน้มเพิ่มสูงมากขึ้น (มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย, 2547)
ดังนั้นการนำเครื่องจักรกลเกษตรเข้ามาใช้ทดแทนแรงงานคนในการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง จึงเป็นทางเลือกสำคัญที่จะช่วยให้เกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังสามารถแก้ปัญหาการขาดแคลนแรงงานในการเก็บเกี่ยวได้ ปัจจุบันพบว่ามีการนำเครื่องมือจักรกลเกษตรเข้ามาใช้ในกระบวนการปลูกและการเก็บเกี่ยว เนื่องจากปัญหาเรื่องต้นทุนในการจ้างแรงงานในภาคการเกษตรมีแนวโน้มเพิ่มสูงมากขึ้น<ref name=":1" />


           เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้แรงงานคนทำการขุด ซึ่งนิยมการขุดโดยวิธีเหมาขุดและมีคนรับจ้างขุดมันเป็นกลุ่ม ๆ ส่วนราคาของการขุดนั้นขึ้นอยู่กับสภาพของดินแห้งหรือไม่ การขุดยากหรือง่าย และมันสำปะหลังนั้นมีหัวดีหรือไม่ดี หัวเล็กหรือหัวใหญ่ มีวัชพืชมากหรือน้อย ถ้าหากไม่ใช้วิธีเหมาขุดก็อาจใช้วิธีจ้างขุดรายวัน ซึ่งค่าจ้างแรงงานในการขุดวิธีนี้จะแพงกว่า แรงงานในการปลูกหรือกำจัดวัชพืช โดยวิธีการขุดนั้นจะทำการตัดต้นมันออกก่อนโดยเหลือเหง้าส่วนล่างของละต้นทิ้งไว้ประมาณ 30-50 เซนติเมตร จากนั้นก็ทำการขุดด้วยจอบ ถ้าหากดินมีความชื้นก็จะใช้วิธีถอนขึ้น หรือขุดตามหัวที่หักหลงเหลืออยู่ในดินอีกทีหนึ่ง ก็จะนำไปกอง ๆ จากนั้นจะทำการสับหัวมันออกจากเหง้า แล้วขนส่งสู่โรงงานแปรสภาพต่อไป โดยไม่ทิ้งไว้ในไร่ เพราะจะทำให้เน่าเสียได้ การทิ้งไว้นานเกิน 4 วัน จะเน่าเสียมาก (สำนักวิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดิน, ม.ป.ป.) แต่ปัจจุบันเกษตรกรที่ปลูกมันสำปะหลังในพื้นที่ใหญ่ที่ไม่สามารถใช้แรงงานคนได้ ก็มักช้าเครื่องจักรกลทางการเกษตรซึ่งจะลดต้นทุนและเก็บเกี่ยวรวดเร็วกว่า
           เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้แรงงานคนทำการขุด ซึ่งนิยมการขุดโดยวิธีเหมาขุดและมีคนรับจ้างขุดมันเป็นกลุ่ม ๆ ส่วนราคาของการขุดนั้นขึ้นอยู่กับสภาพของดินแห้งหรือไม่ การขุดยากหรือง่าย และมันสำปะหลังนั้นมีหัวดีหรือไม่ดี หัวเล็กหรือหัวใหญ่ มีวัชพืชมากหรือน้อย ถ้าหากไม่ใช้วิธีเหมาขุดก็อาจใช้วิธีจ้างขุดรายวัน ซึ่งค่าจ้างแรงงานในการขุดวิธีนี้จะแพงกว่า แรงงานในการปลูกหรือกำจัดวัชพืช โดยวิธีการขุดนั้นจะทำการตัดต้นมันออกก่อนโดยเหลือเหง้าส่วนล่างของละต้นทิ้งไว้ประมาณ 30-50 เซนติเมตร จากนั้นก็ทำการขุดด้วยจอบ ถ้าหากดินมีความชื้นก็จะใช้วิธีถอนขึ้น หรือขุดตามหัวที่หักหลงเหลืออยู่ในดินอีกทีหนึ่ง ก็จะนำไปกอง ๆ จากนั้นจะทำการสับหัวมันออกจากเหง้า แล้วขนส่งสู่โรงงานแปรสภาพต่อไป โดยไม่ทิ้งไว้ในไร่ เพราะจะทำให้เน่าเสียได้ การทิ้งไว้นานเกิน 4 วัน จะเน่าเสียมาก<ref name=":3" /> แต่ปัจจุบันเกษตรกรที่ปลูกมันสำปะหลังในพื้นที่ใหญ่ที่ไม่สามารถใช้แรงงานคนได้ ก็มักช้าเครื่องจักรกลทางการเกษตรซึ่งจะลดต้นทุนและเก็บเกี่ยวรวดเร็วกว่า


=== ขั้นตอนการขุดเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง แบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอน (กรณีเก็บเกี่ยวในแปลงขนาด 100 ไร่) ดังนี้ ===
=== ขั้นตอนการขุดเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง แบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอน (กรณีเก็บเกี่ยวในแปลงขนาด 100 ไร่) ดังนี้ ===
บรรทัดที่ 100: บรรทัดที่ 100:


== '''การเสื่อมคุณภาพของหัวมันสำปะหลัง และการเก็บรักษา''' ==
== '''การเสื่อมคุณภาพของหัวมันสำปะหลัง และการเก็บรักษา''' ==
เมื่อนําหัวมันสําปะหลังมาตัดในแนวขวางจะเห็นชั้นของเปลือก (Peel) และชั้นของเนื้อ (Pulp) ซึ่งเก็บสะสมอาหารพวกแป้งโดยเปลือกจะประกอบด้วย ชั้นของ periderm , selerenchyma , cortical , parenchyma และ phloem ถัดจากชั้นของเปลือกจะเป็น cambium และถัดเข้าไปจะเป็นส่วนของparenchyma ซึ่งเป็นแหล่งสะสมแป้งในกลุ่มเซลล์ parenchyma จะมี xylem bundle และ Fiber (เสรี, 2551)
เมื่อนําหัวมันสําปะหลังมาตัดในแนวขวางจะเห็นชั้นของเปลือก (Peel) และชั้นของเนื้อ (Pulp) ซึ่งเก็บสะสมอาหารพวกแป้งโดยเปลือกจะประกอบด้วย ชั้นของ periderm , selerenchyma , cortical , parenchyma และ phloem ถัดจากชั้นของเปลือกจะเป็น cambium และถัดเข้าไปจะเป็นส่วนของparenchyma ซึ่งเป็นแหล่งสะสมแป้งในกลุ่มเซลล์ parenchyma จะมี xylem bundle และ Fibe<ref name=":6">เสรี วงส์พิเชษฐ. 2551. โครงการการวิจัยและพัฒนาเครื่องขุดมันสําปะหลังโดยใช้รถไถเดนตามเปลี่ยนต้นกําลัง. ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว. 43 หน้า.</ref>


         เนื่องจากหัวมันสําปะหลังมีส่วนประกอบที่เป็นน้ำประมาณ 60-65 เปอร์เซ็นต์ดังนั้นจึงมีอัตราการเสื่อมคุณภาพที่รวดเร็วมากและเมื่อมีการเสื่อมคุณภาพเกิดขึ้นแล้วจะทําให้การยอมรับในการบริโภคและการนําไปใช้ประโยชน์ต่าง ๆลดลง สําหรับลักษณะการเสื่อมคุณภาพที่ปรากฏให้เห็นภายใน 3 วันหลังการเก็บเกี่ยว คือสีของเนื้อเยื่อ parenchyma และท่อน้ำ เริ่มเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงินหรือฟ้าเงินปนดํา หลังจากนั้นก็จะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลและจะเกิดการเข้าทําลายของจุลินทรีย์ภายใน 5-7 วันหลังเก็บเกี่ยวส่วนของ Fiber (เสรี, 2551)
         เนื่องจากหัวมันสําปะหลังมีส่วนประกอบที่เป็นน้ำประมาณ 60-65 เปอร์เซ็นต์ดังนั้นจึงมีอัตราการเสื่อมคุณภาพที่รวดเร็วมากและเมื่อมีการเสื่อมคุณภาพเกิดขึ้นแล้วจะทําให้การยอมรับในการบริโภคและการนําไปใช้ประโยชน์ต่าง ๆลดลง สําหรับลักษณะการเสื่อมคุณภาพที่ปรากฏให้เห็นภายใน 3 วันหลังการเก็บเกี่ยว คือสีของเนื้อเยื่อ parenchyma และท่อน้ำ เริ่มเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงินหรือฟ้าเงินปนดํา หลังจากนั้นก็จะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลและจะเกิดการเข้าทําลายของจุลินทรีย์ภายใน 5-7 วันหลังเก็บเกี่ยวส่วนของ Fiber (เสรี, 2551)<ref name=":6" />


Wheatley and Schwabe (1985) ได้แบ่งขั้นตอนการเสื่อมคุณภาพของหัวมันสําปะหลังออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ
Wheatley and Schwabe (1985<ref name=":7">Wheatley, C.C. and W.W. Schwabe. (1985). Scopoletin Involvement in Post-Harvest Physiological Deterioration of Cassava Root (''Manihot esculenta'' Crantz). Journal of Experimental Botany. 36(5):783-791.</ref>) ได้แบ่งขั้นตอนการเสื่อมคุณภาพของหัวมันสําปะหลังออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ


=== '''การเสื่อมคุณภาพทางสรีระวิทยา (Phisiological Deterioration)''' ===
=== '''การเสื่อมคุณภาพทางสรีระวิทยา (Phisiological Deterioration)''' ===
บรรทัดที่ 112: บรรทัดที่ 112:
ซึ่งทําให้หัวเน่าโดยจุลินทรีย์จะเข้าทําลายหัวมันสําปะหลังภายใน 5-7 วันหลังเก็บเกี่ยวดังนั้นอาจเห็นแถบสีฟ้าเงินดําเกิดขึ้นเช่นเดียวกันโดยจะพบในบริเวณทั่วไปที่สดและอ่อนนุ่มของหัว ซึ่งแตกต่างจากการเสื่อมคุณภาพทางสรีรวิทยาที่จะเห็นเนื้อเยื่อสีฟ้าเงินดําในส่วนของท่อน้ำ (Xylem)   
ซึ่งทําให้หัวเน่าโดยจุลินทรีย์จะเข้าทําลายหัวมันสําปะหลังภายใน 5-7 วันหลังเก็บเกี่ยวดังนั้นอาจเห็นแถบสีฟ้าเงินดําเกิดขึ้นเช่นเดียวกันโดยจะพบในบริเวณทั่วไปที่สดและอ่อนนุ่มของหัว ซึ่งแตกต่างจากการเสื่อมคุณภาพทางสรีรวิทยาที่จะเห็นเนื้อเยื่อสีฟ้าเงินดําในส่วนของท่อน้ำ (Xylem)   


เนื่องจากการเสื่อมคุณภาพทางสรีรวิทยาของหัวมันสําปะหลังต้องการออกซิเจนเพื่อการทํางานของเอนไซม์ ดังนั้นอาการเริ่มต้นของการเสื่อมคุณภาพ มักพบในบริเวณใกล้กับรอยแผลที่เกิดขึ้นที่หัวเนื่องจากการตัดหัวมันออกจากเหง้า เนื่องจากออกซิเจนสามารถเข้าสู่เซลล์ parenchyma ได้ง่าย (Wheatley and Schwabe ,1985)
เนื่องจากการเสื่อมคุณภาพทางสรีรวิทยาของหัวมันสําปะหลังต้องการออกซิเจนเพื่อการทํางานของเอนไซม์ ดังนั้นอาการเริ่มต้นของการเสื่อมคุณภาพ มักพบในบริเวณใกล้กับรอยแผลที่เกิดขึ้นที่หัวเนื่องจากการตัดหัวมันออกจากเหง้า เนื่องจากออกซิเจนสามารถเข้าสู่เซลล์ parenchyma ได้ง่าย<ref name=":7" />


การป้องกันการเสื่อมคุณภาพของหัวมันสําปะหลังสามารถทําได้โดยการกําจัดออกซิเจนที่จะเข้าสู่เซลล์ parenchyma หรือยับยั้งการทํางานของเอนไซม์ในปฏิกริยานั้นเอง ซึ่งตามหลักการสามารถทําได้โดยการเก็บรักษาหัวมันสําปะหลังในสภาพบรรยากาศที่มีเฉพาะไนโตรเจนหรือคาร์บอนไดออกไซด์หรือในสภาพสูญญากาศ หรืออาจจะห่อหุ้ม หัวมันสําปะหลังด้วยชั้นบาง ๆ ของขี้ผึ้ง นอกจากนี้การเก็บรักษาหัวมันสําปะหลังไว้ในสภาพอุณหภูมิต่ำ (ต่ำกว่า 2องศาเซลเซียส) ก็ช่วยยับยั้งการทํางานของเอนไซม์เช่น polyphenol oxidase และ peroxidase ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่ทําให้เนื้อเยื่อของมันสําปะหลังเปลี่ยนเป็นสีฟ้าเงินดําเมื่อมีการเสื่อมคุณภาพ (เสรี, 2551)
การป้องกันการเสื่อมคุณภาพของหัวมันสําปะหลังสามารถทําได้โดยการกําจัดออกซิเจนที่จะเข้าสู่เซลล์ parenchyma หรือยับยั้งการทํางานของเอนไซม์ในปฏิกริยานั้นเอง ซึ่งตามหลักการสามารถทําได้โดยการเก็บรักษาหัวมันสําปะหลังในสภาพบรรยากาศที่มีเฉพาะไนโตรเจนหรือคาร์บอนไดออกไซด์หรือในสภาพสูญญากาศ หรืออาจจะห่อหุ้ม หัวมันสําปะหลังด้วยชั้นบาง ๆ ของขี้ผึ้ง นอกจากนี้การเก็บรักษาหัวมันสําปะหลังไว้ในสภาพอุณหภูมิต่ำ (ต่ำกว่า 2องศาเซลเซียส) ก็ช่วยยับยั้งการทํางานของเอนไซม์เช่น polyphenol oxidase และ peroxidase ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่ทําให้เนื้อเยื่อของมันสําปะหลังเปลี่ยนเป็นสีฟ้าเงินดําเมื่อมีการเสื่อมคุณภาพ<ref name=":6" />


จากรายงานของ Booth (1976) พบว่า มันสําปะหลังและพืชหัวอื่นๆ มีกระบวนการรักษารอยแผลที่เกิดขึ้นที่หัวโดยการสร้าง suberin ขึ้นมาปิดบริเวณแผลโดยถ้าอยู่ในสภาพที่เหมาะสม คืออุณหภูมิระหว่าง 30-40 องศาเซลเซียสและความชื้นสัมพัทธ์ 85 เปอร์เซ็นต์ขึ้นไป การสร้าง suberin ขึ้นมาปิดรอยแผลจะใช้เวลาประมาณ 4-5 วัน ถ้ากระบวนการรักษารอยแผลเกิดขึ้นในทันทีหลังการเก็บเกี่ยวการเสื่อมคุณภาพทางสรีรวิทยาจะไม่เกิดขึ้นและหัวมันสําปะหลังก็จะยังคงสภาพ อยู่ได้แต่อย่างไรก็ตามสภาพที่เหมาะสมต่อการสร้าง suberin ปิดรอยแผล ซึ่งต้องการอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์สูงแต่ก็เป็นช่วงที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์เช่นเดียวกัน ดังนั้นวิธีการป้องกันที่ทําได้ก็คือลดความชื้นสัมพัทธ์ให้ต่ำลงจนอยู่ในช่วงที่ทําให้การเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์ช้าลงแต่ไม่ช้าจนยับยั้งกระบวนการรักษาแผล ซึ่งในทางปฏิบัติอาจทําได้ยากอีกวิธีหนึ่งที่ทําได้ง่ายกว่าคือการใช้สารเคมียับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์แต่สิ่งที่สําคัญคือสารเคมีที่ใช้จะต้องไม่ทิ้งผลตกค้างที่เป็นพิษต่อผู้บริโภคอย่างไรก็ตาม การลดเวลาระหว่างขั้นตอนการเก็บเกี่ยวกับขั้นตอนการแปรรูปเพื่อใช้ประโยชน์ต่อไป โดยรีบนํามันสําปะหลังภายหลังการเก็บเกี่ยวไปแปรรูปใช้ประโยชน์ทันทีจะทําให้ไม่จําเป็นต้องเก็บรักษา และหลีกเลี่ยงปัญหาการเสื่อมสภาพของหัวมันภายหลังการเก็บเกี่ยว  
จากรายงานของ Booth (1976)<ref>Booth, R.H., Buckle T.S., Cardenas O.S., Gomez G. and Hervas E. (1976). Changes in quality of cassava roots during storage. International Journal of Food Science & Technology. 11(3):245-264.</ref> พบว่า มันสําปะหลังและพืชหัวอื่นๆ มีกระบวนการรักษารอยแผลที่เกิดขึ้นที่หัวโดยการสร้าง suberin ขึ้นมาปิดบริเวณแผลโดยถ้าอยู่ในสภาพที่เหมาะสม คืออุณหภูมิระหว่าง 30-40 องศาเซลเซียสและความชื้นสัมพัทธ์ 85 เปอร์เซ็นต์ขึ้นไป การสร้าง suberin ขึ้นมาปิดรอยแผลจะใช้เวลาประมาณ 4-5 วัน ถ้ากระบวนการรักษารอยแผลเกิดขึ้นในทันทีหลังการเก็บเกี่ยวการเสื่อมคุณภาพทางสรีรวิทยาจะไม่เกิดขึ้นและหัวมันสําปะหลังก็จะยังคงสภาพ อยู่ได้แต่อย่างไรก็ตามสภาพที่เหมาะสมต่อการสร้าง suberin ปิดรอยแผล ซึ่งต้องการอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์สูงแต่ก็เป็นช่วงที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์เช่นเดียวกัน ดังนั้นวิธีการป้องกันที่ทําได้ก็คือลดความชื้นสัมพัทธ์ให้ต่ำลงจนอยู่ในช่วงที่ทําให้การเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์ช้าลงแต่ไม่ช้าจนยับยั้งกระบวนการรักษาแผล ซึ่งในทางปฏิบัติอาจทําได้ยากอีกวิธีหนึ่งที่ทําได้ง่ายกว่าคือการใช้สารเคมียับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์แต่สิ่งที่สําคัญคือสารเคมีที่ใช้จะต้องไม่ทิ้งผลตกค้างที่เป็นพิษต่อผู้บริโภคอย่างไรก็ตาม การลดเวลาระหว่างขั้นตอนการเก็บเกี่ยวกับขั้นตอนการแปรรูปเพื่อใช้ประโยชน์ต่อไป โดยรีบนํามันสําปะหลังภายหลังการเก็บเกี่ยวไปแปรรูปใช้ประโยชน์ทันทีจะทําให้ไม่จําเป็นต้องเก็บรักษา และหลีกเลี่ยงปัญหาการเสื่อมสภาพของหัวมันภายหลังการเก็บเกี่ยว  


== '''การปฏิบัติการหลังการเก็บเกี่ยว''' ==
== '''การปฏิบัติการหลังการเก็บเกี่ยว''' ==
การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวนําผลผลิตหัวมันสดส่งโรงงานทันที ไม่ควรเก็บไว้เกิน 2 วัน เพราะจะเน่าเสีย การขนส่งรถบรรทุกหัวมันสําปะหลังต้องสะอาดและเหมาะสมกับปริมาณ หัวมันสด ไม่ควรเป็นรถที่ใช้บรรทุกดิน สัตว์ หรือมูลสัตว์ เพราะอาจมีการปนเปื้อนของเชื้อโรคปาก และเท้าเปื้อย และไม่ควรเป็นรถที่บรรทุกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ หรือถั่วลิสง เพราะอาจมีการปนเปื้อน ของสารพิษอะฟลาทอกซิน ยกเว้นจะมีการทําความสะอาดอย่างเหมาะสมก่อนนํามาบรรทุกหัวมันสําปะหลัง และไม่ควรเป็นรถที่ใช้บรรทุกปุ๋ยเคมีและสารป้องกันกําจัดศัตรูพืช (บัณฑิต และคณะ, 2552)
การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวนําผลผลิตหัวมันสดส่งโรงงานทันที ไม่ควรเก็บไว้เกิน 2 วัน เพราะจะเน่าเสีย การขนส่งรถบรรทุกหัวมันสําปะหลังต้องสะอาดและเหมาะสมกับปริมาณ หัวมันสด ไม่ควรเป็นรถที่ใช้บรรทุกดิน สัตว์ หรือมูลสัตว์ เพราะอาจมีการปนเปื้อนของเชื้อโรคปาก และเท้าเปื้อย และไม่ควรเป็นรถที่บรรทุกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ หรือถั่วลิสง เพราะอาจมีการปนเปื้อน ของสารพิษอะฟลาทอกซิน ยกเว้นจะมีการทําความสะอาดอย่างเหมาะสมก่อนนํามาบรรทุกหัวมันสําปะหลัง และไม่ควรเป็นรถที่ใช้บรรทุกปุ๋ยเคมีและสารป้องกันกําจัดศัตรูพืช<ref>บัณฑิต หิรัญสถิตพร, จาตุพงศ์ วาฤทธิ์, นำพร ปัญโญใหญ่, ราวุ น่วมปฐม และเอ็จ สโรบล. 2552. เครื่องขุดมันสําปะหลังพ่วงท้ายรถแทรกเตอร์ขนาดเล็ก. ในรายงานผลงานวิจัยมหาวิทยาลัยแม่โจ้: 46 หน้า.</ref>


== '''เครื่องจักรกลเกษตรด้านการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง''' ==
== '''เครื่องจักรกลเกษตรด้านการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง''' ==
เนื่องจากแรงงานปัจจุบันไม่นิยมการทํางานในภาคเกษตรกรรม โดยเฉพาะงานหนักเช่นการขุดมันสําปะหลังจึงมีความพยายามในการพัฒนาอุปกรณ์หรือเครื่องจักรกลเกษตร มาทดแทนแรงงานคนในการเก็บเกี่ยวมันสําปะหลังหลากหลายรูปแบบ ทั้งโดยโรงงานเครื่องจักรกลเกษตรและโดยหน่วยงานวิจัยของรัฐ (เสรี, 2551)
เนื่องจากแรงงานปัจจุบันไม่นิยมการทํางานในภาคเกษตรกรรม โดยเฉพาะงานหนักเช่นการขุดมันสําปะหลังจึงมีความพยายามในการพัฒนาอุปกรณ์หรือเครื่องจักรกลเกษตร มาทดแทนแรงงานคนในการเก็บเกี่ยวมันสําปะหลังหลากหลายรูปแบบ ทั้งโดยโรงงานเครื่องจักรกลเกษตรและโดยหน่วยงานวิจัยของรัฐ<ref name=":2" />


         ในขั้นตอนการเก็บเกี่ยวเป็นขั้นตอนที่สำคัญขั้นตอนหนึ่งในระบบการผลิตที่มีผลกระทบโดยตรงต่อความสูญเสีย ความเสียหาย คุณภาพของผลผลิตโดยหัวมันที่ทำการขุดแล้วหากไม่ได้รับการแปรรูปภายใน 2 วัน คุณภาพจะลดอย่างมาก (Thant, 1997 และ พร้อมพรรณ, 2549) และต้นทุนการผลิตมันสำาปะหลัง โดยพบว่าต้นทุนในการผลิตมันสำปะหลังนั้น ขั้นตอนการเก็บเกี่ยวมีสัดส่วนการลงทุนสูงสุด (27%) รองลงมาได้แก่ค่าปุ๋ย ค่าเตรียมดิน ค่ากำจัดวัชพืช ค่าขนส่ง และค่าท่อนพันธุ์และแรงงานปลูกในสัดส่วนร้อยละ 18 17 16 13 และ 7 ตามลำดับ (สุรพงษ์ และคณะ, 2550) โดยค่าจ้างแรงงานเป็นสัดส่วน ค่าใช้จ่ายสูงสุดในขั้นตอนการเก็บเกี่ยว เช่นเดียวกับค่าใช้จ่ายในการผลิตพืชเศรษฐกิจหลักอื่นๆ ยกเว้นในการผลิตข้าว (Anuchit, 2007) ทั้งนี้เนื่องจากใช้แรงงานคนเป็นหลัก เพื่อการขุดหรือถอน การตัดส่วนที่เป็นหัวออกจากโคนต้น และรวบรวมขึ้นรถบรรทุกเพื่อการขนย้ายไปจำหน่าย และประสบปัญหาการขาดแคลนแรงงานเช่นเดียวกับการผลิตพืชอื่นในภาคเกษตร เนื่องจากแรงงานเคลื่อนย้ายสู่นอกภาคเกษตร ทั้งมีแนวโน้มทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น และทำให้ค่าจ้างแรงงานในภาคเกษตรสูงขึ้นเป็นการเพิ่มต้นทุนการผลิต
         ในขั้นตอนการเก็บเกี่ยวเป็นขั้นตอนที่สำคัญขั้นตอนหนึ่งในระบบการผลิตที่มีผลกระทบโดยตรงต่อความสูญเสีย ความเสียหาย คุณภาพของผลผลิตโดยหัวมันที่ทำการขุดแล้วหากไม่ได้รับการแปรรูปภายใน 2 วัน คุณภาพจะลดอย่างมาก<ref>Thanh, N.C., S. Muttamara, B.N. Lohani, B.V.P.C. Raoand and S. Burintaratikul. 1979. Optimization of drying and pelleting techniques for tapioca roots. Environmental Engineering division Asian Institute of technology Thailand.</ref> <ref>พร้อมพันธุ์ เสรีวิชยสวัสดิ์. 2549. อิทธิพลของระยะเวลาเก็บเกี่ยวหลังการตัดต้นที่มีต่อผลผลิตและคุณภาพของหัวมันสำปะหลัง. มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งปะเทศ. สืบค้นจาก : <nowiki>http://www.tapiocathai.org/reference/03.htm</nowiki> [มี.ค. 2556]</ref>และต้นทุนการผลิตมันสำาปะหลัง โดยพบว่าต้นทุนในการผลิตมันสำปะหลังนั้น ขั้นตอนการเก็บเกี่ยวมีสัดส่วนการลงทุนสูงสุด (27%) รองลงมาได้แก่ค่าปุ๋ย ค่าเตรียมดิน ค่ากำจัดวัชพืช ค่าขนส่ง และค่าท่อนพันธุ์และแรงงานปลูกในสัดส่วนร้อยละ 18 17 16 13 และ 7 ตามลำดับ<ref>สุรพงษ์ เจริญรัถ, นันทวรรณ สโรบล, กุลศิริ กลั่นนุรักษ์, อาภาณี โภคประเสริฐ, เสาวรี ตังสกุล, จรุงสิทธิ์ ลิ่มศิลา และอุดม เลียบวัน. 2550. กิจกรรมการศึกษาโอกาสและข้อจำกัดของการผลิตพืชไร่ เศรษฐกิจสำคัญงานทดลองประเมินความคุ้มค่าการลงทุนและสภาวะความเสี่ยงของเกษตรกรจากความแปรปรวนด้านการผลิตและราคาของผลผลิตมันสำปะหลังและอ้อย, น.135-139. เอกสาร ประกอบการสัมมนาเรื่องแนวทางการวิจัยและพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลัง.159 น.</ref> โดยค่าจ้างแรงงานเป็นสัดส่วน ค่าใช้จ่ายสูงสุดในขั้นตอนการเก็บเกี่ยว เช่นเดียวกับค่าใช้จ่ายในการผลิตพืชเศรษฐกิจหลักอื่นๆ ยกเว้นในการผลิตข้าว<ref>Anuchit Chamsing. 2007. Agricultural Mechanization Status and Energy Consumption for Crop
 
Production in Thailand. AIT Diss No. AE…(In process). Asian Institute of Technology.</ref> ทั้งนี้เนื่องจากใช้แรงงานคนเป็นหลัก เพื่อการขุดหรือถอน การตัดส่วนที่เป็นหัวออกจากโคนต้น และรวบรวมขึ้นรถบรรทุกเพื่อการขนย้ายไปจำหน่าย และประสบปัญหาการขาดแคลนแรงงานเช่นเดียวกับการผลิตพืชอื่นในภาคเกษตร เนื่องจากแรงงานเคลื่อนย้ายสู่นอกภาคเกษตร ทั้งมีแนวโน้มทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น และทำให้ค่าจ้างแรงงานในภาคเกษตรสูงขึ้นเป็นการเพิ่มต้นทุนการผลิต


=== '''รถแทรกเตอร์ต้นกำลังในกระบวนการผลิตมันสำปะหลัง'''  ===
=== '''รถแทรกเตอร์ต้นกำลังในกระบวนการผลิตมันสำปะหลัง'''  ===
ต้นกำลังที่ใช้ในกระบวนการปลูกมันสำปะหลัง ทำหน้าที่ตั้งแต่กระบวนการเตรียมดิน การปลูก ดูแลรักษาและการเก็บเกี่ยวเป็นรถแทรกเตอร์นั่งขับแบบ 4 ล้อ ขนาด 35-90 แรงม้าเป็นต้น (ชัยยันต์, 2560)
ต้นกำลังที่ใช้ในกระบวนการปลูกมันสำปะหลัง ทำหน้าที่ตั้งแต่กระบวนการเตรียมดิน การปลูก ดูแลรักษาและการเก็บเกี่ยวเป็นรถแทรกเตอร์นั่งขับแบบ 4 ล้อ ขนาด 35-90 แรงม้าเป็นต้น (ชัยยันต์, 2560)<ref name=":5" />


=== '''เครื่องขุดมันสำปะหลัง'''  ===
=== '''เครื่องขุดมันสำปะหลัง'''  ===
กระบวนการปลูกมันสำปะหลังในปัจจุบัน ใช้รถแทรกเตอร์เป็นต้นกำลังในการเตรียมดินและมีลักษณะการปลูกแบบยกร่องและปักท่อนพันธ์เป็นเส้นตรงตามความยาวของแถว เครื่องขุดมันสำปะหลังส่วนใหญ่จึงออกแบบมาให้ใช้ในการขุดแบบเปิดหรือระเบิดดินออกด้านข้างเพื่อให้หัวมันและเหง้ามันสำปะหลังขึ้นมาอยู่ด้านบนผิวดิน ซึ่งการออกแบบหัวขุดในปัจจุบันมีหลากหลายรูปทรง เช่น ทรงเหลี่ยม ครึ่งวงกลม แบบหัวหมู และทำมุมการขุดอยู่ระหว่าง 30-33 องศา (สามารถ, 2543)  
กระบวนการปลูกมันสำปะหลังในปัจจุบัน ใช้รถแทรกเตอร์เป็นต้นกำลังในการเตรียมดินและมีลักษณะการปลูกแบบยกร่องและปักท่อนพันธ์เป็นเส้นตรงตามความยาวของแถว เครื่องขุดมันสำปะหลังส่วนใหญ่จึงออกแบบมาให้ใช้ในการขุดแบบเปิดหรือระเบิดดินออกด้านข้างเพื่อให้หัวมันและเหง้ามันสำปะหลังขึ้นมาอยู่ด้านบนผิวดิน ซึ่งการออกแบบหัวขุดในปัจจุบันมีหลากหลายรูปทรง เช่น ทรงเหลี่ยม ครึ่งวงกลม แบบหัวหมู และทำมุมการขุดอยู่ระหว่าง 30-33 องศา<ref>สามารถ บุญอาจ. 2543. การออกแบบและพัฒนาเครื่องเก็บหัวมันสำปะหลังแบบติดพ่วงกับรถแทรกเตอร์.  วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.</ref>
 
 
 
 
การพัฒนาเครื่องมือในการเก็บเกี่ยวหรือที่เรียกว่า”เครื่องขุดมันสำปะหลัง”ในปัจจุบันมีความหลากหลายทั้งในด้านการออกแบบ วัสดุ รูปทรง และเครื่องต้นกำลัง โดยทั้งหมดนั้นมีเป้าหมายเพื่อการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วเกษตรกรจะยึดกับเครื่องต้นกำลังนั่นคือรถแทรกเตอร์ โดยรถแทรกเตอร์มีบทบาทในกระบวนการปลูกมันสำปะหลังหลายกระบวนการ ดังนั้นจึงพบว่าเครื่องขุดมันสำปะหลังส่วนใหญ่จึงเป็นอุปกรณ์ที่ติดตั้งในรถแทรกเตอร์ชนิดของการต่อเชื่อมกับรถแทรกเตอร์แบบลากจูงเป็นหลัก<ref name=":5" />




การพัฒนาเครื่องมือในการเก็บเกี่ยวหรือที่เรียกว่า”เครื่องขุดมันสำปะหลัง”ในปัจจุบันมีความหลากหลายทั้งในด้านการออกแบบ วัสดุ รูปทรง และเครื่องต้นกำลัง โดยทั้งหมดนั้นมีเป้าหมายเพื่อการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วเกษตรกรจะยึดกับเครื่องต้นกำลังนั่นคือรถแทรกเตอร์ โดยรถแทรกเตอร์มีบทบาทในกระบวนการปลูกมันสำปะหลังหลายกระบวนการ ดังนั้นจึงพบว่าเครื่องขุดมันสำปะหลังส่วนใหญ่จึงเป็นอุปกรณ์ที่ติดตั้งในรถแทรกเตอร์ชนิดของการต่อเชื่อมกับรถแทรกเตอร์แบบลากจูงเป็นหลัก (ชัยยันต์, 2560)




อนุชิต (2553) รายงานว่าปัญหาระบบการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังที่มีสัดส่วนการลงทุนสูงสุดในระบบการผลิตมันสำปะหลัง อันเนื่องมากจากต้องใช้แรงงานคนเป็นหลักและประสบปัญหาการขาดแคลนแรงงาน แบ่งการดำเนินงานเป็น 2 กิจกรรม คือ  พัฒนาเครื่องขุด และเก็บหัวมันสำปะหลังแบบพ่วงติดท้ายรถแทรกเตอร์ ขนาด 50 แรงม้า เพื่อให้สามารถทำการขุดและเก็บรวมกองเหง้ามันสำปะหลังในคราวเดียวกัน ดำเนินการโดยสร้างชุดทดสอบ ออกแบบ สร้างและปรับปรุงแก้ไขเครื่องต้นแบบ มีส่วนประกอบหลักคือส่วนผาลขุด ส่วนการหนีบลำเลียง และกระบะบรรทุกชนิดลากพ่วง ทำงานโดยเหง้ามันสำปะหลังจะถูกขุดด้วยส่วนผาลขุด แล้วจะถูกหนีบจับและลำเลียงส่งมายังส่วนกระบะบรรทุก เพื่อนำมาเทรวมกองสำหรับการตัดหัวออกจากเหง้า ทั้งระบบการเก็บเกี่ยวมีอัตราการทำงาน 0.39 ไร่/ชั่วโมง สามารถลดแรงงานได้ 4.5 เท่า ของระบบการเก็บเกี่ยวเดิมที่ใช้แรงงานคนทุกขั้นตอน ผลการวิเคราะห์การลงทุนที่อายุการใช้งาน 7 ปี เพื่อทดแทนระบบการเก็บเกี่ยวแบบใช้แรงงานคนทั้งหมด แบบใช้เครื่องขุดมันสำปะหลังร่วมกับการใช้แรงงานคน และการจ้างเหมาขุด  
อนุชิต (2553)<ref>อนุชิต ฉ่ำสิงห์. 2553. โครงการวิจัยและพัฒนาเครื่องขุดเก็บมันสำปะหลังและเครื่องมือตัดหัวมันสำปะหลังจากเหง้า. กรมวิชาการเกษตร.</ref> รายงานว่าปัญหาระบบการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังที่มีสัดส่วนการลงทุนสูงสุดในระบบการผลิตมันสำปะหลัง อันเนื่องมากจากต้องใช้แรงงานคนเป็นหลักและประสบปัญหาการขาดแคลนแรงงาน แบ่งการดำเนินงานเป็น 2 กิจกรรม คือ  พัฒนาเครื่องขุด และเก็บหัวมันสำปะหลังแบบพ่วงติดท้ายรถแทรกเตอร์ ขนาด 50 แรงม้า เพื่อให้สามารถทำการขุดและเก็บรวมกองเหง้ามันสำปะหลังในคราวเดียวกัน ดำเนินการโดยสร้างชุดทดสอบ ออกแบบ สร้างและปรับปรุงแก้ไขเครื่องต้นแบบ มีส่วนประกอบหลักคือส่วนผาลขุด ส่วนการหนีบลำเลียง และกระบะบรรทุกชนิดลากพ่วง ทำงานโดยเหง้ามันสำปะหลังจะถูกขุดด้วยส่วนผาลขุด แล้วจะถูกหนีบจับและลำเลียงส่งมายังส่วนกระบะบรรทุก เพื่อนำมาเทรวมกองสำหรับการตัดหัวออกจากเหง้า ทั้งระบบการเก็บเกี่ยวมีอัตราการทำงาน 0.39 ไร่/ชั่วโมง สามารถลดแรงงานได้ 4.5 เท่า ของระบบการเก็บเกี่ยวเดิมที่ใช้แรงงานคนทุกขั้นตอน ผลการวิเคราะห์การลงทุนที่อายุการใช้งาน 7 ปี เพื่อทดแทนระบบการเก็บเกี่ยวแบบใช้แรงงานคนทั้งหมด แบบใช้เครื่องขุดมันสำปะหลังร่วมกับการใช้แรงงานคน และการจ้างเหมาขุด  


วิจัยและพัฒนาเครื่องมือตัดหัวมันสำปะหลังออกจากเหง้า เพื่อลดการใช้แรงงาน และเพิ่มความสามารถในการตัดตัดหัวมันสำปะหลังออกจากเหง้าภายหลังการขุดหัวและเหง้ามันสำปะหลังขึ้นมาจากดิน ซึ่งเป็นปัญหาลักษณะคอขวดที่สำคัญในระบบการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง ดำเนินการโดยศึกษา เลือกใช้ และพัฒนาส่วนการตัดและส่วนการขับใบตัด ผลการศึกษาและพัฒนาได้เครื่องมือตัดแบบใบเลื่อยชักระบบนิวแมติกส์ มีความสามารถในการตัด 615 กิโลกรัม/ชั่วโมง ใกล้เคียงกับการตัดด้วยแรงงานหญิงในระบบการตัดหัวมันสำปะหลังออกจากเหง้าของระบบปฏิบัติเดิม ช่วยลดความเหนื่อยยากของแรงงาน แต่ต้นทุนสูงกว่า มีความเป็นไปได้ที่จะพัฒนาต่อเพื่อเพิ่มความสมารถในการทำงานและมีความยืดหยุ่นในการทำงานมากขึ้นต่อไป
วิจัยและพัฒนาเครื่องมือตัดหัวมันสำปะหลังออกจากเหง้า เพื่อลดการใช้แรงงาน และเพิ่มความสามารถในการตัดตัดหัวมันสำปะหลังออกจากเหง้าภายหลังการขุดหัวและเหง้ามันสำปะหลังขึ้นมาจากดิน ซึ่งเป็นปัญหาลักษณะคอขวดที่สำคัญในระบบการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง ดำเนินการโดยศึกษา เลือกใช้ และพัฒนาส่วนการตัดและส่วนการขับใบตัด ผลการศึกษาและพัฒนาได้เครื่องมือตัดแบบใบเลื่อยชักระบบนิวแมติกส์ มีความสามารถในการตัด 615 กิโลกรัม/ชั่วโมง ใกล้เคียงกับการตัดด้วยแรงงานหญิงในระบบการตัดหัวมันสำปะหลังออกจากเหง้าของระบบปฏิบัติเดิม ช่วยลดความเหนื่อยยากของแรงงาน แต่ต้นทุนสูงกว่า มีความเป็นไปได้ที่จะพัฒนาต่อเพื่อเพิ่มความสมารถในการทำงานและมีความยืดหยุ่นในการทำงานมากขึ้นต่อไป


=== '''การพัฒนาเครื่องเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังแบบเบ็ดเสร็จของไทย'''  ===
=== '''การพัฒนาเครื่องเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังแบบเบ็ดเสร็จของไทย'''  ===
การพัฒนาเครื่องเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังในปัจจุบัน เป็นการนำเอาขั้นตอนของการขุด การลำเลียง และขนย้ายเหง้ามันสำปะหลัง ติดตั้งและทำงานพร้อมกันในเครื่องเดียวกัน เริ่มต้นด้วยระบบการขุดเป็นการนำหัวขุดหรือผาลขุดติดตั้งในโครงไถที่สร้างขึ้นและเชื่อมต่อกับรถแทรกเตอร์ในระบบการต่อพ่วงแบบ 3 จุด Three-Point Hitch ทำหน้าที่ในการขุดเปิดร่องแยกมวลดินและเหง้ามันสำปะหลังออกจากกัน ระบบลำเลียงออกแบบเป็นลักษณะโซ่ปีกทำงานร่วมกับสายพานหรือแผ่นยางป้องกันการลื่นและช่วยสร้างแรงยึดเกาะ โดยใช้โซ่ปีกจำนวน 2 ชุด ทำงานโดยการหมุนในทิศทางตรงข้ามกัน (วิชา, 2552) ด้วยชุดเฟืองขับจากปั้มไฮดรอลิกส์ต่อผ่านระบบเพลาอำนวยกำลัง PTO เรียกลักษณะการลำเลียงแบบนี้ว่าการคีบ ซึ่งจะใช้ส่วนของลำต้นเหนือพื้นดินหลังการตัดต้นเป็นตำแหน่งในการคีบ ชุดโซ่ลำเลียงนี้จะต่อร่วมกับระบบการขุด เพื่อลำเลียงเหง้าพร้อมหัวมันสำปะหลังไปยังอุปกรณ์ขนย้ายที่มีลักษณะเป็นกระบะบรรทุกแบบมีล้อ ต่อพ่วงแบบกึ่งลากจูงกับชุดโครงขุดและลำเลียง เมื่อทำการเก็บเกี่ยวจนเต็มกระบะบรรทุกจะทำการเทรวมกองกันไว้เป็นจุดๆ เพื่อใช้แรงงานคนในการสับแยกเหง้าและลำเลียงขึ้นรถบรรทุกต่อไป จึงสรุปได้ว่ายังไม่สามารถช่วยลดการใช้แรงงานในกระบวนการขนย้ายรวมกอง และสับแยกเหง้าได้อย่างสมบูรณ์ นอกจากนี้ระบบการลำเลียงที่กล่าวมานั้นมีชิ้นส่วนทางกลที่ต้องการการปรับตั้ง การหล่อลื่น การบำรุงรักษาเป็นพิเศษ ซึ่งในการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังจะมีฝุ่นละออง เศษวัสดุจำนวนมากส่งผลต่ออายุการใช้งานของระบบโซ่ลำเลียง รวมถึงความยาวของรถแทรกเตอร์ต้นกำลังรวมกับอุปกรณ์การขุด ระบบลำเลียงเหง้าและอุปกรณ์การขนย้ายเหง้ามันสำปะหลังที่มีการใช้งานแบบต่อพ่วงกึ่งลากจูง เมื่อทำการเก็บเกี่ยวจริงจะต้องใช้พื้นที่ในการเลี้ยวหัวงานมากเป็นพิเศษ ซึ่งไม่สะดวกในการทำการเก็บเกี่ยวในพื้นที่ที่หน้ากว้างของแปลงปลูกไม่สม่ำเสมอ และระบบการตัดแยกเหง้า ถือเป็นกลไกที่มีความสำคัญประการสุดท้ายของเครื่องเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังเนื่องจากเครื่องเก็บเกี่ยวที่กล่าวมาข้างต้นยังคงต้องใช้แรงงานคนในการตัดแยกเหง้า หากเครื่องเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังมีกระบวนการครบถ้วนและสามารถลดการใช้แรงงานคนได้จริง ต้องทำงานได้ครบบริบทในการขุด ลำเลียง และแยกเหง้า ไปในกระบวนการเดียวกัน แต่ในปัจจุบันมีการศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการแยกเหง้าเพียงในระดับห้องปฏิบัติการเท่านั้น  (ชัยยันต์, 2560)
การพัฒนาเครื่องเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังในปัจจุบัน เป็นการนำเอาขั้นตอนของการขุด การลำเลียง และขนย้ายเหง้ามันสำปะหลัง ติดตั้งและทำงานพร้อมกันในเครื่องเดียวกัน เริ่มต้นด้วยระบบการขุดเป็นการนำหัวขุดหรือผาลขุดติดตั้งในโครงไถที่สร้างขึ้นและเชื่อมต่อกับรถแทรกเตอร์ในระบบการต่อพ่วงแบบ 3 จุด Three-Point Hitch ทำหน้าที่ในการขุดเปิดร่องแยกมวลดินและเหง้ามันสำปะหลังออกจากกัน ระบบลำเลียงออกแบบเป็นลักษณะโซ่ปีกทำงานร่วมกับสายพานหรือแผ่นยางป้องกันการลื่นและช่วยสร้างแรงยึดเกาะ โดยใช้โซ่ปีกจำนวน 2 ชุด ทำงานโดยการหมุนในทิศทางตรงข้ามกัน<ref>วิชา หมั่นทำการ. 2552. เครื่องเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง. ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: <nowiki>http://www.rdi.ku.ac.th</nowiki>. (30 กันยายน 2553).</ref> ด้วยชุดเฟืองขับจากปั้มไฮดรอลิกส์ต่อผ่านระบบเพลาอำนวยกำลัง PTO เรียกลักษณะการลำเลียงแบบนี้ว่าการคีบ ซึ่งจะใช้ส่วนของลำต้นเหนือพื้นดินหลังการตัดต้นเป็นตำแหน่งในการคีบ ชุดโซ่ลำเลียงนี้จะต่อร่วมกับระบบการขุด เพื่อลำเลียงเหง้าพร้อมหัวมันสำปะหลังไปยังอุปกรณ์ขนย้ายที่มีลักษณะเป็นกระบะบรรทุกแบบมีล้อ ต่อพ่วงแบบกึ่งลากจูงกับชุดโครงขุดและลำเลียง เมื่อทำการเก็บเกี่ยวจนเต็มกระบะบรรทุกจะทำการเทรวมกองกันไว้เป็นจุดๆ เพื่อใช้แรงงานคนในการสับแยกเหง้าและลำเลียงขึ้นรถบรรทุกต่อไป จึงสรุปได้ว่ายังไม่สามารถช่วยลดการใช้แรงงานในกระบวนการขนย้ายรวมกอง และสับแยกเหง้าได้อย่างสมบูรณ์ นอกจากนี้ระบบการลำเลียงที่กล่าวมานั้นมีชิ้นส่วนทางกลที่ต้องการการปรับตั้ง การหล่อลื่น การบำรุงรักษาเป็นพิเศษ ซึ่งในการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังจะมีฝุ่นละออง เศษวัสดุจำนวนมากส่งผลต่ออายุการใช้งานของระบบโซ่ลำเลียง รวมถึงความยาวของรถแทรกเตอร์ต้นกำลังรวมกับอุปกรณ์การขุด ระบบลำเลียงเหง้าและอุปกรณ์การขนย้ายเหง้ามันสำปะหลังที่มีการใช้งานแบบต่อพ่วงกึ่งลากจูง เมื่อทำการเก็บเกี่ยวจริงจะต้องใช้พื้นที่ในการเลี้ยวหัวงานมากเป็นพิเศษ ซึ่งไม่สะดวกในการทำการเก็บเกี่ยวในพื้นที่ที่หน้ากว้างของแปลงปลูกไม่สม่ำเสมอ และระบบการตัดแยกเหง้า ถือเป็นกลไกที่มีความสำคัญประการสุดท้ายของเครื่องเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังเนื่องจากเครื่องเก็บเกี่ยวที่กล่าวมาข้างต้นยังคงต้องใช้แรงงานคนในการตัดแยกเหง้า หากเครื่องเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังมีกระบวนการครบถ้วนและสามารถลดการใช้แรงงานคนได้จริง ต้องทำงานได้ครบบริบทในการขุด ลำเลียง และแยกเหง้า ไปในกระบวนการเดียวกัน แต่ในปัจจุบันมีการศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการแยกเหง้าเพียงในระดับห้องปฏิบัติการเท่านั้น<ref name=":5" />


=== '''เครื่องลำเลียงมันสำปะหลังขึ้นรถบรรทุก'''  ===
=== '''เครื่องลำเลียงมันสำปะหลังขึ้นรถบรรทุก'''  ===
เครื่องลำเลียงหัวมันสำปะหลังขึ้นรถบรรทุก เป็นเครื่องมือที่ใช้เพื่อลดการใช้แรงงานคน เนื่องจากกระบวนการดังกล่าวนั้นจะต้องใช้แรงงานพิเศษคือต้องเป็นแรงงานที่มีร่างกายแข็งแรงมาก ดังนั้นจึงทำให้ค่าจ้างแรงงานในส่วนนี้สูงกว่ากระบวนการรวบรวม หรือกระบวนการสับเหง้า ดังนั้นการใช้เครื่องมือดังกล่าว นอกจากจะช่วยในเรื่องการลดค่าใช้จ่ายหรือการใช้แรงงานแล้วยังทำให้สามารถป้องกันการเกิดอุบัติเหตุจากการทำงานเรื่องการยกสิ่งของหนักได้อีกด้วย (ชัยยันต์ และเสรี, 2556)
เครื่องลำเลียงหัวมันสำปะหลังขึ้นรถบรรทุก เป็นเครื่องมือที่ใช้เพื่อลดการใช้แรงงานคน เนื่องจากกระบวนการดังกล่าวนั้นจะต้องใช้แรงงานพิเศษคือต้องเป็นแรงงานที่มีร่างกายแข็งแรงมาก ดังนั้นจึงทำให้ค่าจ้างแรงงานในส่วนนี้สูงกว่ากระบวนการรวบรวม หรือกระบวนการสับเหง้า ดังนั้นการใช้เครื่องมือดังกล่าว นอกจากจะช่วยในเรื่องการลดค่าใช้จ่ายหรือการใช้แรงงานแล้วยังทำให้สามารถป้องกันการเกิดอุบัติเหตุจากการทำงานเรื่องการยกสิ่งของหนักได้อีกด้วย<ref>ชัยยันต์ จันทร์ศิริ และเสรี วงส์พิเชษฐ. 2556. การศึกษาและพัฒนาอุปกรณ์ลำเลียงมันสำปะหลังขึ้นรถบรรทุก. วารสารวิจัย มข. 18(2): 212-220.</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
132

การแก้ไข