132
การแก้ไข
บรรทัดที่ 571: | บรรทัดที่ 571: | ||
เนื่องจากการเก็บเกี่ยวมันสําปะหลัง ต้องใช้แรงงานจํานวนมากเช่น โรงงานผลิตแป้งมันขนาด 150 ตันแป้ง/วัน ต้องใช้หัวมันสําปะหลังสด 650–750 ตัน ซึ่งต้องใช้คนขุด 650–750 คนต่อวัน เป็นต้น (ศุภวัฒน์ปากเมย 2540) จากการศึกษาลักษณะของแรงงานที่ใช้ในการดําเนินงานภายหลังเก็บเกี่ยว (เชิดพงษ์, 2549) พบว่าโดยทั่วไปเป็นแรงงานภายในหมู่บ้านของเกษตรกรเอง และหมู่บ้านใกล้เคียง ซึ่งมีทั้งแรงงานวัยทํางานทั้งเพศชายและหญิง และแรงงานเด็กการเก็บเกี่ยวในพื้นที่ของเกษตรกรรายย่อย โดยทั่วไปจะเก็บเกี่ยวโดยใช้แรงงานในครัวเรือนเป็นหลักในการดําเนินการจึงมีอัตราการเก็บเกี่ยวช้าและต้องรอรวบรวมผลผลิตหัวมันสดให้เต็มรถบรรทุกเพื่อประหยัดค่าขนส่งโดยทั่วไปใช้เวลารวบรวมประมาณ 1-3 วัน | เนื่องจากการเก็บเกี่ยวมันสําปะหลัง ต้องใช้แรงงานจํานวนมากเช่น โรงงานผลิตแป้งมันขนาด 150 ตันแป้ง/วัน ต้องใช้หัวมันสําปะหลังสด 650–750 ตัน ซึ่งต้องใช้คนขุด 650–750 คนต่อวัน เป็นต้น (ศุภวัฒน์ปากเมย 2540) จากการศึกษาลักษณะของแรงงานที่ใช้ในการดําเนินงานภายหลังเก็บเกี่ยว (เชิดพงษ์, 2549) พบว่าโดยทั่วไปเป็นแรงงานภายในหมู่บ้านของเกษตรกรเอง และหมู่บ้านใกล้เคียง ซึ่งมีทั้งแรงงานวัยทํางานทั้งเพศชายและหญิง และแรงงานเด็กการเก็บเกี่ยวในพื้นที่ของเกษตรกรรายย่อย โดยทั่วไปจะเก็บเกี่ยวโดยใช้แรงงานในครัวเรือนเป็นหลักในการดําเนินการจึงมีอัตราการเก็บเกี่ยวช้าและต้องรอรวบรวมผลผลิตหัวมันสดให้เต็มรถบรรทุกเพื่อประหยัดค่าขนส่งโดยทั่วไปใช้เวลารวบรวมประมาณ 1-3 วัน | ||
== ''' | == '''การขุดเก็บเกี่ยว''' == | ||
วิธีการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังของเกษตรกรไทยปัจจุบัน อาจจำแนกออกเป็น 2 แบบ คือ แบบดั้งเดิมซึ่งขุดมันสำปะหลังด้วยแรงงานคนโดยใช้จอบ/อุปกรณ์ถอนต้น และตัดหัวมันออกจากเหง้าด้วยแรงงานคน และแบบที่เริ่มนิยมใช้งาน คือขุดด้วยเครื่องขุดมันสำปะหลัง และตัดหัวมันออกจากเหง้าด้วยแรงงานคน สำหรับวิธีการตัดหัวมันออกจากเหง้าภายหลังการเก็บเกี่ยวมีเพียงรูปแบบเดียว คือ ใช้แรงงานคนตัวหัวมันสำปะหลัง ก่อนลำเลียงขึ้นรถบรรทุก (ชัยยันต์, 2560) | วิธีการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังของเกษตรกรไทยปัจจุบัน อาจจำแนกออกเป็น 2 แบบ คือ แบบดั้งเดิมซึ่งขุดมันสำปะหลังด้วยแรงงานคนโดยใช้จอบ/อุปกรณ์ถอนต้น และตัดหัวมันออกจากเหง้าด้วยแรงงานคน และแบบที่เริ่มนิยมใช้งาน คือขุดด้วยเครื่องขุดมันสำปะหลัง และตัดหัวมันออกจากเหง้าด้วยแรงงานคน สำหรับวิธีการตัดหัวมันออกจากเหง้าภายหลังการเก็บเกี่ยวมีเพียงรูปแบบเดียว คือ ใช้แรงงานคนตัวหัวมันสำปะหลัง ก่อนลำเลียงขึ้นรถบรรทุก (ชัยยันต์, 2560) | ||
บรรทัดที่ 580: | บรรทัดที่ 580: | ||
เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้แรงงานคนทำการขุด ซึ่งนิยมการขุดโดยวิธีเหมาขุดและมีคนรับจ้างขุดมันเป็นกลุ่ม ๆ ส่วนราคาของการขุดนั้นขึ้นอยู่กับสภาพของดินแห้งหรือไม่ การขุดยากหรือง่าย และมันสำปะหลังนั้นมีหัวดีหรือไม่ดี หัวเล็กหรือหัวใหญ่ มีวัชพืชมากหรือน้อย ถ้าหากไม่ใช้วิธีเหมาขุดก็อาจใช้วิธีจ้างขุดรายวัน ซึ่งค่าจ้างแรงงานในการขุดวิธีนี้จะแพงกว่า แรงงานในการปลูกหรือกำจัดวัชพืช โดยวิธีการขุดนั้นจะทำการตัดต้นมันออกก่อนโดยเหลือเหง้าส่วนล่างของละต้นทิ้งไว้ประมาณ 30-50 เซนติเมตร จากนั้นก็ทำการขุดด้วยจอบ ถ้าหากดินมีความชื้นก็จะใช้วิธีถอนขึ้น หรือขุดตามหัวที่หักหลงเหลืออยู่ในดินอีกทีหนึ่ง ก็จะนำไปกอง ๆ จากนั้นจะทำการสับหัวมันออกจากเหง้า แล้วขนส่งสู่โรงงานแปรสภาพต่อไป โดยไม่ทิ้งไว้ในไร่ เพราะจะทำให้เน่าเสียได้ การทิ้งไว้นานเกิน 4 วัน จะเน่าเสียมาก (สำนักวิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดิน, ม.ป.ป.) แต่ปัจจุบันเกษตรกรที่ปลูกมันสำปะหลังในพื้นที่ใหญ่ที่ไม่สามารถใช้แรงงานคนได้ ก็มักช้าเครื่องจักรกลทางการเกษตรซึ่งจะลดต้นทุนและเก็บเกี่ยวรวดเร็วกว่า | เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้แรงงานคนทำการขุด ซึ่งนิยมการขุดโดยวิธีเหมาขุดและมีคนรับจ้างขุดมันเป็นกลุ่ม ๆ ส่วนราคาของการขุดนั้นขึ้นอยู่กับสภาพของดินแห้งหรือไม่ การขุดยากหรือง่าย และมันสำปะหลังนั้นมีหัวดีหรือไม่ดี หัวเล็กหรือหัวใหญ่ มีวัชพืชมากหรือน้อย ถ้าหากไม่ใช้วิธีเหมาขุดก็อาจใช้วิธีจ้างขุดรายวัน ซึ่งค่าจ้างแรงงานในการขุดวิธีนี้จะแพงกว่า แรงงานในการปลูกหรือกำจัดวัชพืช โดยวิธีการขุดนั้นจะทำการตัดต้นมันออกก่อนโดยเหลือเหง้าส่วนล่างของละต้นทิ้งไว้ประมาณ 30-50 เซนติเมตร จากนั้นก็ทำการขุดด้วยจอบ ถ้าหากดินมีความชื้นก็จะใช้วิธีถอนขึ้น หรือขุดตามหัวที่หักหลงเหลืออยู่ในดินอีกทีหนึ่ง ก็จะนำไปกอง ๆ จากนั้นจะทำการสับหัวมันออกจากเหง้า แล้วขนส่งสู่โรงงานแปรสภาพต่อไป โดยไม่ทิ้งไว้ในไร่ เพราะจะทำให้เน่าเสียได้ การทิ้งไว้นานเกิน 4 วัน จะเน่าเสียมาก (สำนักวิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดิน, ม.ป.ป.) แต่ปัจจุบันเกษตรกรที่ปลูกมันสำปะหลังในพื้นที่ใหญ่ที่ไม่สามารถใช้แรงงานคนได้ ก็มักช้าเครื่องจักรกลทางการเกษตรซึ่งจะลดต้นทุนและเก็บเกี่ยวรวดเร็วกว่า | ||
=== การขุดเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง แบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอน (กรณีเก็บเกี่ยวในแปลงขนาด 100 ไร่) ดังนี้ === | === [[การขุดเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง]] แบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอน (กรณีเก็บเกี่ยวในแปลงขนาด 100 ไร่) ดังนี้ === | ||
# '''การตัดต้นพันธุ์''' การขุดหัวมันสำปะหลังโดยใช้รถไถขุดจำเป็นต้องตัดต้นพันธุ์ออกก่อน โดยปกติแรงงานทั่วไป 1 คน สามารถตัดต้นพันธุ์ได้ประมาณ 2,000 ลำ ดังนั้นพื้นที่ 1 ไร่ต้องใช้แรงงานตัดประมาณ 1.5-2 แรง หรือ 150-200 แรงต่อพื้นที่ 100 ไร่ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความยากง่ายในการตัดในแต่ละพันธุ์และความหนาแน่นของประชากรที่ปลูก ในกรณีที่ไม่ต้องเก็บต้นพันธุ์ไว้ปลูกต่อ และลดต้นทุนในการตัดต้นพันธุ์สามารถใช้เครื่องสับย่อยต้นมันสำปะหลังเข้าไปทำงานในแปลงได้ เศษต้นและใบที่ผ่านการสับย่อยก็จะตกอยู่ในแปลงเป็นการเพิ่มปุ๋ยหรืออินทรียวัตถุให้กับดิน | # '''การตัดต้นพันธุ์''' การขุดหัวมันสำปะหลังโดยใช้รถไถขุดจำเป็นต้องตัดต้นพันธุ์ออกก่อน โดยปกติแรงงานทั่วไป 1 คน สามารถตัดต้นพันธุ์ได้ประมาณ 2,000 ลำ ดังนั้นพื้นที่ 1 ไร่ต้องใช้แรงงานตัดประมาณ 1.5-2 แรง หรือ 150-200 แรงต่อพื้นที่ 100 ไร่ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความยากง่ายในการตัดในแต่ละพันธุ์และความหนาแน่นของประชากรที่ปลูก ในกรณีที่ไม่ต้องเก็บต้นพันธุ์ไว้ปลูกต่อ และลดต้นทุนในการตัดต้นพันธุ์สามารถใช้เครื่องสับย่อยต้นมันสำปะหลังเข้าไปทำงานในแปลงได้ เศษต้นและใบที่ผ่านการสับย่อยก็จะตกอยู่ในแปลงเป็นการเพิ่มปุ๋ยหรืออินทรียวัตถุให้กับดิน | ||
# '''การถอนหรือขุดหัวมันสำปะหลัง''' โดยปกติหากเป็นการขุดในฤดูฝนซึ่งดินมีความชื้นสูงในเขตพื้นที่ดินทราย หรือทรายปนร่วน ซึ่งโครงสร้างดินมีความร่วนซุยสูง สามารถใช้แรงงานคนถอนทั้งต้นโดยไม่ต้องตัดต้นพันธุ์ออกก่อนจะช่วยประหยัดค่าแรงงานตัดต้นพันธุ์และค่ารถไถขุดหัวมันสำปะหลังได้อีกทางหนึ่ง แต่หากในช่วงฤดูแล้ง ดินแห้งและแข็งไม่สามารถถอนโดยใช้แรงงานคนได้ จำเป็นต้องใช้รถแทรคเตอร์ติดพ่วงเครื่องขุดหัวมันสำปะหลังขุดแทนแรงงานคน ประสิทธิภาพการทำงานของรถแทรคเตอร์ติดพ่วงเครื่องขุด 1 คัน สามารถทำงานได้ประมาณ 12-15 ไร่ ดังนั้นหากมีพื้นที่ 100 ไร่ จำเป็นต้องใช้รถขุดเก็บเกี่ยวประมาณ 6-7 คัน | # '''การถอนหรือขุดหัวมันสำปะหลัง''' โดยปกติหากเป็นการขุดในฤดูฝนซึ่งดินมีความชื้นสูงในเขตพื้นที่ดินทราย หรือทรายปนร่วน ซึ่งโครงสร้างดินมีความร่วนซุยสูง สามารถใช้แรงงานคนถอนทั้งต้นโดยไม่ต้องตัดต้นพันธุ์ออกก่อนจะช่วยประหยัดค่าแรงงานตัดต้นพันธุ์และค่ารถไถขุดหัวมันสำปะหลังได้อีกทางหนึ่ง แต่หากในช่วงฤดูแล้ง ดินแห้งและแข็งไม่สามารถถอนโดยใช้แรงงานคนได้ จำเป็นต้องใช้รถแทรคเตอร์ติดพ่วงเครื่องขุดหัวมันสำปะหลังขุดแทนแรงงานคน ประสิทธิภาพการทำงานของรถแทรคเตอร์ติดพ่วงเครื่องขุด 1 คัน สามารถทำงานได้ประมาณ 12-15 ไร่ ดังนั้นหากมีพื้นที่ 100 ไร่ จำเป็นต้องใช้รถขุดเก็บเกี่ยวประมาณ 6-7 คัน | ||
# '''การรวมกองและสับหัวมันสำปะหลังออกจากเหง้า''' ขั้นตอนนี้เป็นการตามเก็บหัวมันสำปะหลังที่รถไถขุดขึ้นมา แล้วโยนกองเป็นกลุ่มเพื่อให้สะดวกต่อการสับหัวออกจากเหง้าและขนขึ้นรถบรรทุก ปัจจุบันยังไม่มีเครื่องจักรหรือเครื่องทุ่นแรงใด ๆ มาช่วยในขั้นตอนนี้ ยังคงจำเป็นต้องใช้แรงงานคนเป็นหลัก[[ไฟล์:การขุดเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง.jpg|thumb|ภาพการขุดเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง|330x330px]] | # '''การรวมกองและสับหัวมันสำปะหลังออกจากเหง้า''' ขั้นตอนนี้เป็นการตามเก็บหัวมันสำปะหลังที่รถไถขุดขึ้นมา แล้วโยนกองเป็นกลุ่มเพื่อให้สะดวกต่อการสับหัวออกจากเหง้าและขนขึ้นรถบรรทุก ปัจจุบันยังไม่มีเครื่องจักรหรือเครื่องทุ่นแรงใด ๆ มาช่วยในขั้นตอนนี้ ยังคงจำเป็นต้องใช้แรงงานคนเป็นหลัก[[ไฟล์:การขุดเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง.jpg|thumb|ภาพการขุดเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง|330x330px]] | ||
# '''การขนหัวมันสำปะหลังขึ้นรถบรรทุกเพื่อส่งโรงงาน''' หลังจากสับหัวออกจากเหง้าแล้ว ต้องใช้แรงงานเก็บหัวมันสำปะหลังใส่เข่งหรือภาชนะอื่นแล้วใช้คนแบกขึ้นรถบรรทุก ขั้นตอนนี้ต้องใช้แรงงานค่อนข้างมาก ปัจจุบันมีการคิดค้นออกแบบเครื่องลำเลียงหัวมันสำปะหลังขึ้นรถบรรทุกแทนการใช้แรงงานคนแบก แต่ยังทำงานได้ช้าและไม่คล่องตัวเมื่อต้องย้ายรถบรรทุกไปยังจุดอื่น ๆ อยู่ตลอดเวลา แนวทางที่จะช่วยลดแรงงานได้อีกทางหนึ่ง คือ การใช้รถแทรคเตอร์ติดอุปกรณ์ตักหัวมันสำปะหลังทางด้านหน้า สามารถยกหัวมันสำปะหลังใส่รถบรรทุกได้ครั้งละ 300-500 กิโลกรัม (ขึ้นอยู่กับขนาดของตัก) จะช่วยลดจำนวนแรงงานในการแบกและช่วยให้ทำงานได้รวดเร็วขึ้น | #'''การขนหัวมันสำปะหลังขึ้นรถบรรทุกเพื่อส่งโรงงาน''' หลังจากสับหัวออกจากเหง้าแล้ว ต้องใช้แรงงานเก็บหัวมันสำปะหลังใส่เข่งหรือภาชนะอื่นแล้วใช้คนแบกขึ้นรถบรรทุก ขั้นตอนนี้ต้องใช้แรงงานค่อนข้างมาก ปัจจุบันมีการคิดค้นออกแบบเครื่องลำเลียงหัวมันสำปะหลังขึ้นรถบรรทุกแทนการใช้แรงงานคนแบก แต่ยังทำงานได้ช้าและไม่คล่องตัวเมื่อต้องย้ายรถบรรทุกไปยังจุดอื่น ๆ อยู่ตลอดเวลา แนวทางที่จะช่วยลดแรงงานได้อีกทางหนึ่ง คือ การใช้รถแทรคเตอร์ติดอุปกรณ์ตักหัวมันสำปะหลังทางด้านหน้า สามารถยกหัวมันสำปะหลังใส่รถบรรทุกได้ครั้งละ 300-500 กิโลกรัม (ขึ้นอยู่กับขนาดของตัก) จะช่วยลดจำนวนแรงงานในการแบกและช่วยให้ทำงานได้รวดเร็วขึ้น |
การแก้ไข