ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง"

บรรทัดที่ 9: บรรทัดที่ 9:
จากผลการศึกษารูปแบบการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังในปัจจุบัน และข้อมูลที่เกี่ยวข้องโดยเก็บข้อมูล อัตราการทำงานและความต้องการแรงงานของกระบวนการ ดังแสดงไว้ในตาราง 1 โดยจากตารางพบว่าอัตราการทำงานของกระบวนการเก็บเกี่ยวรวมทั้งกระบวนการ คือ 2.61 ไร่/คน-ชั่วโมง และมีความต้องการแรงงาน คือ 11.3 คน-ชั่วโมง/ไร่ โดยการดำเนินงานภายหลังการเก็บเกี่ยว มีความต้องการแรงงานมากที่สุด และใช้เวลาในการทำงานสูงที่สุด (ชัยยันต์ และเสรี, 2556)
จากผลการศึกษารูปแบบการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังในปัจจุบัน และข้อมูลที่เกี่ยวข้องโดยเก็บข้อมูล อัตราการทำงานและความต้องการแรงงานของกระบวนการ ดังแสดงไว้ในตาราง 1 โดยจากตารางพบว่าอัตราการทำงานของกระบวนการเก็บเกี่ยวรวมทั้งกระบวนการ คือ 2.61 ไร่/คน-ชั่วโมง และมีความต้องการแรงงาน คือ 11.3 คน-ชั่วโมง/ไร่ โดยการดำเนินงานภายหลังการเก็บเกี่ยว มีความต้องการแรงงานมากที่สุด และใช้เวลาในการทำงานสูงที่สุด (ชัยยันต์ และเสรี, 2556)


=== '''การเก็บเกี่ยวและการเก็บรักษา''' ===
== '''การเก็บเกี่ยวและการเก็บรักษา''' ==
โดยทั่วไปมันสําปะหลังภายหลังการเก็บเกี่ยวซึ่งเป็นหัวมันสดจะมีน้ำเป็นส่วนประกอบ 60-65 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก ดังนั้นจึงมีอัตราการเสื่อมคุณภาพที่รวดเร็วมากโดยเฉพาะในสภาพอากาศร้อนชื้น อย่างเช่นประเทศไทย ซึ่งลักษณะการเสื่อมคุณภาพที่ปรากฏให้เห็นในช่วง 3 วันภายหลังการเก็บเกี่ยวเป็นการเสื่อมคุณภาพทางสรีระวิทยา (Physiological Deterioration) โดยสีของเนื้อมันสําปะหลังเริ่มเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงินหรือฟ้าเงินปนดํา หลังจากนั้นก็จะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล และเปอร์เซ็นต์แป้งในหัวมันลดลง ส่งผลกระทบต่อราคาขาย หลังจากนั้นหัวมันจะเริ่มเน่า ซึ่งเป็นการเสื่อมคุณภาพเนื่องจากการเข้าทําลายของจุลินทรีย์ (กรมวิชาการเกษตร, 2537)
โดยทั่วไปมันสําปะหลังภายหลังการเก็บเกี่ยวซึ่งเป็นหัวมันสดจะมีน้ำเป็นส่วนประกอบ 60-65 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก ดังนั้นจึงมีอัตราการเสื่อมคุณภาพที่รวดเร็วมากโดยเฉพาะในสภาพอากาศร้อนชื้น อย่างเช่นประเทศไทย ซึ่งลักษณะการเสื่อมคุณภาพที่ปรากฏให้เห็นในช่วง 3 วันภายหลังการเก็บเกี่ยวเป็นการเสื่อมคุณภาพทางสรีระวิทยา (Physiological Deterioration) โดยสีของเนื้อมันสําปะหลังเริ่มเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงินหรือฟ้าเงินปนดํา หลังจากนั้นก็จะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล และเปอร์เซ็นต์แป้งในหัวมันลดลง ส่งผลกระทบต่อราคาขาย หลังจากนั้นหัวมันจะเริ่มเน่า ซึ่งเป็นการเสื่อมคุณภาพเนื่องจากการเข้าทําลายของจุลินทรีย์ (กรมวิชาการเกษตร, 2537)


บรรทัดที่ 16: บรรทัดที่ 16:
ระยะเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม เก็บเกี่ยวได้ตั้งแต่อายุ 8-12 เดือน แต่อายุเก็บเกี่ยวที่เหมาะสมคือ 12 เดือนหลังปลูก และไม่ควรเก็บเกี่ยวในช่วงที่มีฝนตกชุก เนื่องจากหัวมันสำปะหลังจะมีเปอร์เซ็นต์แป้งต่ำ (กรมวิชาการเกษตร, 2547)
ระยะเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม เก็บเกี่ยวได้ตั้งแต่อายุ 8-12 เดือน แต่อายุเก็บเกี่ยวที่เหมาะสมคือ 12 เดือนหลังปลูก และไม่ควรเก็บเกี่ยวในช่วงที่มีฝนตกชุก เนื่องจากหัวมันสำปะหลังจะมีเปอร์เซ็นต์แป้งต่ำ (กรมวิชาการเกษตร, 2547)


=== '''อายุของต้นมันสำปะหลังก่อนเก็บเกี่ยว''' ===
== '''อายุของต้นมันสำปะหลังก่อนเก็บเกี่ยว''' ==
มันสำปะหลังเป็นพืชอายุยาว สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตเมื่อใดก็ได้ ผลผลิตหัวสดจะเพิ่มขึ้นตามอายุที่มากขึ้น จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำฝนที่มันสำปะหลังได้รับ ในขณะที่ปริมาณแป้งในหัวของทุกพันธุ์จะสามารถวัดได้ตั้งแต่เดือนที่ 4 หลังปลูก สำหรับประเทศไทยเกษตรกรส่วนใหญ่เก็บเกี่ยวมันสำปะหลังที่อายุ 9-12 เดือน อย่างไรก็ตามอายุที่เหมาะสมในการเก็บเกี่ยวจะขึ้นกับพันธุ์ที่ใช้ปลูกด้วย  
มันสำปะหลังเป็นพืชอายุยาว สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตเมื่อใดก็ได้ ผลผลิตหัวสดจะเพิ่มขึ้นตามอายุที่มากขึ้น จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำฝนที่มันสำปะหลังได้รับ ในขณะที่ปริมาณแป้งในหัวของทุกพันธุ์จะสามารถวัดได้ตั้งแต่เดือนที่ 4 หลังปลูก สำหรับประเทศไทยเกษตรกรส่วนใหญ่เก็บเกี่ยวมันสำปะหลังที่อายุ 9-12 เดือน อย่างไรก็ตามอายุที่เหมาะสมในการเก็บเกี่ยวจะขึ้นกับพันธุ์ที่ใช้ปลูกด้วย  


บรรทัดที่ 25: บรรทัดที่ 25:
         การปลูกมันสำปะหลังกลางฤดูฝนถ้าเก็บเกี่ยวเมื่ออายุ 12 เดือน จะได้ผลผลิตต่ำเพียง 1-2 ตัน/ไร่ เนื่องจากต้นมันสำปะหลังได้รับปริมาณฝนน้อยไม่เพียงพอต่อการเจริญเติบโตและการสะสมอาหารได้น้อย (วุฒิศักดิ์ และคณะ, 2539) และเมื่อได้รับน้ำฝนมันสำปะหลังจะนำแป้งที่สะสมไว้ในหัวมาใช้สร้างต้นและใบใหม่ เมื่อเก็บเกี่ยวในช่วงต้นฤดูฝน ผลผลิตมันแห้ง และแป้งจะลดลง (โอภาษ และคณะ, 2543) ส่วนการปลูกมันสำปะหลังปลายฤดูฝนจะเก็บเกี่ยวในช่วงฤดูแล้ง ทำให้ได้ผลผลิตมันแห้งและแป้งสูง เพราะดินมความชื้นน้อย ทำให้หัวมันสำปะหลังมีน้ำน้อยลง จึงทำให้เปอร์เซ็นต์แป้งสูงขึ้น (วุฒิศักดิ์ และ คณะ, 2539) การปลูกมันสำปะหลังนอกฤดูฝน (พฤศจิกายน-เมษายน) ให้ผลผลิตต่ำกว่าการปลูกในช่วงฤดูฝนถึง 25 เปอร์เซ็นต์ (สมพงษ์, 2537)
         การปลูกมันสำปะหลังกลางฤดูฝนถ้าเก็บเกี่ยวเมื่ออายุ 12 เดือน จะได้ผลผลิตต่ำเพียง 1-2 ตัน/ไร่ เนื่องจากต้นมันสำปะหลังได้รับปริมาณฝนน้อยไม่เพียงพอต่อการเจริญเติบโตและการสะสมอาหารได้น้อย (วุฒิศักดิ์ และคณะ, 2539) และเมื่อได้รับน้ำฝนมันสำปะหลังจะนำแป้งที่สะสมไว้ในหัวมาใช้สร้างต้นและใบใหม่ เมื่อเก็บเกี่ยวในช่วงต้นฤดูฝน ผลผลิตมันแห้ง และแป้งจะลดลง (โอภาษ และคณะ, 2543) ส่วนการปลูกมันสำปะหลังปลายฤดูฝนจะเก็บเกี่ยวในช่วงฤดูแล้ง ทำให้ได้ผลผลิตมันแห้งและแป้งสูง เพราะดินมความชื้นน้อย ทำให้หัวมันสำปะหลังมีน้ำน้อยลง จึงทำให้เปอร์เซ็นต์แป้งสูงขึ้น (วุฒิศักดิ์ และ คณะ, 2539) การปลูกมันสำปะหลังนอกฤดูฝน (พฤศจิกายน-เมษายน) ให้ผลผลิตต่ำกว่าการปลูกในช่วงฤดูฝนถึง 25 เปอร์เซ็นต์ (สมพงษ์, 2537)


=== '''ช่วงเวลาขุดเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม''' ===
== '''ช่วงเวลาขุดเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม''' ==
มันสำปะหลังเก็บเกี่ยวได้ตลอดทั้งปี เกษตรกรในประเทศไทยส่วนใหญ่เก็บเกี่ยวผลผลิตในฤดูแล้ง โดยเริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงมีนาคม การเก็บเกี่ยวในฤดูฝน (เมษายนถึงตุลาคม) มีน้อยมาก ซึ่งปริมาณแป้งในหัวมันสำปะหลังของทุกพันธุ์จะสูงสุดเมื่อเก็บเกี่ยวเดือนพฤศจิกายน-มีนาคม และหลังจากเดือนเมษายนไปแล้ว ปริมาณแป้งในหัวจะลดลงเรื่อย ๆ และลดลงต่ำสุดในเดือนสิงหาคม-กันยายน ซึ่งเป็นช่วงที่ฝนตกหนัก เนื่องจากเมื่อมันสำปะหลังได้รับความชื้นจะมีการใช้อาหารและแป้งที่สะสมไว้ในหัวสำหรับการเจริญเติบโตทางลำต้น ตัวอย่างช่วงเวลาขุดเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังที่เหมาะสมในแต่ละภูมิภาคของประเทศไทยดังแสดงในตารางที่ 1 และ 2
มันสำปะหลังเก็บเกี่ยวได้ตลอดทั้งปี เกษตรกรในประเทศไทยส่วนใหญ่เก็บเกี่ยวผลผลิตในฤดูแล้ง โดยเริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงมีนาคม การเก็บเกี่ยวในฤดูฝน (เมษายนถึงตุลาคม) มีน้อยมาก ซึ่งปริมาณแป้งในหัวมันสำปะหลังของทุกพันธุ์จะสูงสุดเมื่อเก็บเกี่ยวเดือนพฤศจิกายน-มีนาคม และหลังจากเดือนเมษายนไปแล้ว ปริมาณแป้งในหัวจะลดลงเรื่อย ๆ และลดลงต่ำสุดในเดือนสิงหาคม-กันยายน ซึ่งเป็นช่วงที่ฝนตกหนัก เนื่องจากเมื่อมันสำปะหลังได้รับความชื้นจะมีการใช้อาหารและแป้งที่สะสมไว้ในหัวสำหรับการเจริญเติบโตทางลำต้น ตัวอย่างช่วงเวลาขุดเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังที่เหมาะสมในแต่ละภูมิภาคของประเทศไทยดังแสดงในตารางที่ 1 และ 2
== '''ตารางที่ 1''' ช่วงเวลาเก็บเกี่ยวเหมาะสมของฤดูปลูกต้นฝน ==
{| class="wikitable"
|'''แหล่งปลูก'''
| colspan="4" |'''ม.ค.'''
| colspan="4" |'''ก.พ.'''
| colspan="4" |'''มี.ค.'''
| colspan="4" |'''เม.ย.'''
| colspan="4" |'''พ.ค.'''
| colspan="4" |'''มิ.ย.'''
| colspan="4" |'''ก.ค.'''
| colspan="4" |'''ส.ค.'''
| colspan="4" |'''ก.ย.'''
| colspan="4" |'''ต.ค.'''
| colspan="4" |'''พ.ย.'''
| colspan="4" |'''ธ.ค.'''
|-
|ภาคเหนือตอนล่าง
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|-
|ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|-
|ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|-
|ภาคกลาง
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|-
|ภาคตะวันออก
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|}
132

การแก้ไข