ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การใช้ประโยชน์จากผลผลิตมันสำปะหลัง"

บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
ประเทศไทยมีการปลูกมันสำปะหลังเป็นจำนวนมากถึง 25.57 ล้านตัน ในปี 2520-2551 และมีแนวโน้มที่เพิ่มสูงขึ้นทุก ๆ ปี โดยในปี 2563 พบว่าประเทศไทยมีเนื้อที่เพาะปลูกรวมทั้งประเทศ 9.44 ล้านไร่ เนื้อที่เก็บเกี่ยว 8.92 ล้านไร่ ผลผลิต 28.10 ล้านตัน มีการส่งออกในรูปแบบต่าง ๆ และนำมาแปรรูปในอุตสาหกรรมแป้งและอาหารสัตว์ อีกทั้งนี้ยังนำมารับประทานในรูปของอาหารชนิดต่าง ๆ มันสำปะหลังเป็นพืชที่สามารถนำทุกส่วนมาใช้ประโยชน์ได้ ตั้งแต่ใบ ลำต้น ตลอดจนส่วนของราก อย่างไรก็ตามการใช้ประโยชน์มันสำปะหลังภายในประเทศส่วนใหญ่ยังจำกัดอยู่เพียงอุตสาหรรมแป้งและอาหารสัตว์ ส่วนที่นำมารับประทานก็เพียงเป็นอาหารว่าง ประเภทขนมหวานเพียงเล็กน้อยเท่านั้น แต่แท้จริงแล้วมันสำปะหลังถูกนำไปใช้เป็นอาหารหลักของมนุษย์มาเป็นเวลานานมาแล้ว โดยเฉพาะประเทศทางแถบทวีปแอฟริกา และอเมริกาใต้ ตลอดจนบางประเทศในทวีปเอเชีย ดังนั้นการใช้ประโยชน์ของมันสำปะหลังจึงมีมากมายดังต่อไปนี้
ประเทศไทยมีการปลูกมันสำปะหลังเป็นจำนวนมากถึง 25.57 ล้านตัน ในปี 2520-2551 (สำนักงานเศษฐกิจการเกษตร, 2551ก) และมีแนวโน้มที่เพิ่มสูงขึ้นทุก ๆ ปี โดยในปี 2563 พบว่าประเทศไทยมีเนื้อที่เพาะปลูกรวมทั้งประเทศ 9.44 ล้านไร่ เนื้อที่เก็บเกี่ยว 8.92 ล้านไร่ ผลผลิต 28.10 ล้านตัน (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, <nowiki>http://www.oae.go.th</nowiki>, 10/04/2563) มีการส่งออกในรูปแบบต่าง ๆ และนำมาแปรรูปในอุตสาหกรรมแป้งและอาหารสัตว์ อีกทั้งนี้ยังนำมารับประทานในรูปของอาหารชนิดต่าง ๆ มันสำปะหลังเป็นพืชที่สามารถนำทุกส่วนมาใช้ประโยชน์ได้ ตั้งแต่ใบ ลำต้น ตลอดจนส่วนของราก อย่างไรก็ตามการใช้ประโยชน์มันสำปะหลังภายในประเทศส่วนใหญ่ยังจำกัดอยู่เพียงอุตสาหรรมแป้งและอาหารสัตว์ ส่วนที่นำมารับประทานก็เพียงเป็นอาหารว่าง ประเภทขนมหวานเพียงเล็กน้อยเท่านั้น แต่แท้จริงแล้วมันสำปะหลังถูกนำไปใช้เป็นอาหารหลักของมนุษย์มาเป็นเวลานานมาแล้ว โดยเฉพาะประเทศทางแถบทวีปแอฟริกา และอเมริกาใต้ ตลอดจนบางประเทศในทวีปเอเชีย ดังนั้นการใช้ประโยชน์ของมันสำปะหลังจึงมีมากมายดังต่อไปนี้ (สำนักวิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดิน, ม.ป.ป.)
----


==ประโยชน์ของมันสำปะหลังแยกตามส่วนต่าง ๆ ของต้น ==
==ประโยชน์ของมันสำปะหลังแยกตามส่วนต่าง ๆ ==
มันสำปะหลังสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ทุกส่วน ตั้งแต่ ใบ ลำต้น ตลอดจนส่วนของราก โดยใช้เป็นอาหาร นำมาแปรรูปในอุตสาหกรรมแป้งและอาหารสัตว์ สำหรับประเทศไทยส่วนใหญ่มักใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมแป้งและอาหารสัตว์ และเป็นสินค้าส่งออกในรูปแบบต่าง ๆ ได้แก่ แป้งมันสำปะหลัง แป้งดัดแปร และมันสำปะหลังอัดเม็ด/มันเส้น (ตารางการส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังของประเทศไทย) ยังมีเพียงส่วนน้อยที่นำมาใช้เป็นอาหารโดยตรง เช่น ขนมมันสำปะหลังเชื่อม ขนมมันทิพย์ ขนมมันนึ่ง เป็นต้น  
มันสำปะหลังสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ทุกส่วน ตั้งแต่ ใบ ลำต้น ตลอดจนส่วนของราก โดยใช้เป็นอาหาร นำมาแปรรูปในอุตสาหกรรมแป้งและอาหารสัตว์ สำหรับประเทศไทยส่วนใหญ่มักใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมแป้งและอาหารสัตว์ และเป็นสินค้าส่งออกในรูปแบบต่าง ๆ ได้แก่ แป้งมันสำปะหลัง แป้งดัดแปร และมันสำปะหลังอัดเม็ด/มันเส้น (ตารางการส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังของประเทศไทย) ยังมีเพียงส่วนน้อยที่นำมาใช้เป็นอาหารโดยตรง เช่น ขนมมันสำปะหลังเชื่อม ขนมมันทิพย์ ขนมมันนึ่ง เป็นต้น
[[ไฟล์:ภาพที่1 หัวสด.jpg|thumb|180x180px|ภาพหัวสด]]
[[ไฟล์:ภาพที่1 หัวสด.jpg|thumb|180x180px|ภาพหัวสด]]


=== [[หัวสดของมันสำปะหลัง|หัวสด]] ===
=== หัวสด ===
1. ใช้เป็นอาหาร โดย ต้ม นึ่ง ย่าง อบ เชื่อม ตลอดถึงการนำมาหมักคลุกน้ำมันผสมเครื่องเทศ ถั่วลิสง หรือนำมาทำเป็นแป้งแล้วแปรรูปเป็นอาหารชนิดต่าง ๆ ตลอดจนนำมาฝานเป็นแผ่นบาง ๆ แล้วทอด
1. ใช้เป็นอาหาร โดย ต้ม นึ่ง ย่าง อบ เชื่อม ตลอดถึงการนำมาหมักคลุกน้ำมันผสมเครื่องเทศ ถั่วลิสง หรือนำมาทำเป็นแป้งแล้วแปรรูปเป็นอาหารชนิดต่าง ๆ ตลอดจนนำมาฝานเป็นแผ่นบาง ๆ แล้วทอด


2. ใช้เป็นอาหารสัตว์ ทั้งที่เป็นหัวสด กากที่เหลือจากการทำแป้ง เปลือกของหัว
2. ใช้เป็นอาหารสัตว์ ทั้งที่เป็นหัวสด กากที่เหลือจากการทำแป้ง เปลือกของหัว


3. ส่งโรงงานอุตสาหกรรมทำแป้ง มันเส้น มันอัดเม็ด แอลกอฮอล์ ฯลฯ
3. ส่งโรงงานอุตสาหกรรมทำแป้ง มันเส้น มันอัดเม็ด แอลกอฮอล์ ฯลฯ[[ไฟล์:ภาพใบมันสำปะหลัง.jpg|thumb|170x170px|ภาพใบมันสำปะหลัง]]






[[ไฟล์:ภาพใบมันสำปะหลัง.jpg|thumb|170x170px|ภาพใบมันสำปะหลัง]]
=== ใบ ===
 
 
=== [[ใบของมันสำปะหลัง|ใบ]] ===
ใช้เป็นอาหารสัตว์ โดยใช้ใบสด หรือ ใบตากแห้งป่นผสมกับอาหารข้นเลี้ยงสัตว์
ใช้เป็นอาหารสัตว์ โดยใช้ใบสด หรือ ใบตากแห้งป่นผสมกับอาหารข้นเลี้ยงสัตว์






[[ไฟล์:ลำต้นมันสำปะหลัง.jpg|thumb|142x142px|ภาพลำต้นมันสำปะหลัง]]


=== [[ลำต้น]] ===
=== ลำต้น ===
1. เป็นท่อนพันธุ์สำหรับขยายพันธุ์
1. เป็นท่อนพันธุ์สำหรับขยายพันธุ์


2. เป็นอาหารสัตว์ โดยใช้ส่วนยอดสำหรับเลี้ยงสัตว์เคี้ยวเอื้อง ตากแห้ง เป็นอาหารหยาบ
2. เป็นอาหารสัตว์ โดยใช้ส่วนยอดสำหรับเลี้ยงสัตว์เคี้ยวเอื้อง ตากแห้ง เป็นอาหารหยาบ


=== [[เมล็ด]] ===
 
 
 
 
[[ไฟล์:เมล็ดมันสำปะหลัง.png|thumb|217x217px|ภาพเมล็ดมันสำปะหลัง]]
 
=== เมล็ด ===
1. ใช้สกัดน้ำมันที่มีคุณภาพดีสามารถนำไปใช้ในอุตสาหกรรมยาได้
 
2. สำหรับนักปรับปรุงพืชอาจนำมาใช้สำหรับการปรับปรุงพันธุ์
 


== การส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังของประเทศไทย ==
== การส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังของประเทศไทย ==
บรรทัดที่ 296: บรรทัดที่ 305:
|9,282
|9,282
|}
|}
(ที่มา: สมาคมแป้งมันสำปะหลัง website: <nowiki>http://www.thaitapiocastarch.org/th/information/statistics/export_tapioca_products</nowiki>, 25/03/2564)


==ผลิตภัณฑ์จากมันสำปะหลัง==
==ผลิตภัณฑ์จากมันสำปะหลัง==
*[[ผลิตภัณฑ์1]]
ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังหลักในประเทศไทย ประกอบไปด้วย มันเส้น มันอัดเม็ด แป้งมันสำปะหลังทั้งในรูปของแป้งดิบและแป้งดัดแปร และเอทอนอล ซึ่งทั้งหมดมีการนำไปใช้เป็นวัถตุดิบต่อเนื่องในหลายอุตสาหกรรม ตลาดส่งออกหลักของผลิตภัณฑ์มันเส้น คือ สาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งนำเข้ามันเส้นจากไทยมากกว่าร้อยละ 90 ของปริมาณทั้งหมดที่ส่งออก ส่วนผลิตภัณฑ์มันอัดเม็ดส่วนใหญ่จำหน่ายให้แก่โรงงานอาหารสัตว์หรือผู้ส่งออก โดยมีตลาดหลักคือ สหภาพยุโรป สำหรับแป้งมันสำปะหลังมีการจำหน่ายทั้งภายในและต่างประเทศ ตลาดส่งออกแป้งมันสำปะหลังหลักของไทย ได้แก่ ญี่ปุ่น ไต้หวัน จีน และอินโดนีเซีย (ปรารถ และคณะ, 2552) ประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังมากเป็นอับดับหนึ่งของโลก (FAOSTAT, 2009) ในปีเพาะปลูก 2550-2551 ประเทศไทยมีปริมาณผลผลิตมันสำปะหลังสูงถึง 25.57 ล้านตัน (สำนักงานเศษฐกิจการเกษตร, 2551ก) ซึ่งปริมาณผลผลิตมันสำปะหลังยังมีแนวโนมจะเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ เนื่องจากความต้องการมันสำปะหลังเพื่อใช้ในประเทศและเพื่อส่งออกยังคงเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง (ปรารถ และคณะ, 2552)
*[[ผลิตภัณฑ์2]]
 
*[[ผลิตภัณฑ์3]]
เนื่องจากหัวสำปะหลังมันสดไม่สามารถเก็บรักษาไว้ได้นาน เน่าเสียหายได้ง่าย จึงมักจะมีการแปรรูปเพื่อให้สามารถเก็บไว้บริโภคได้นานวัน มักนำไปหมักก่อนแล้วจึงนำไปปรุงเป็นอาหาร เช่น นึ่ง ทอด ย่าง หรือ นำหัวสดไปบดใส่ถุงทับให้แห้งทิ้งไว้ 4 วัน ระหว่างนั้นจะเกิดการหมัก จากนั้นจึงนำไปทอด หรือ นำไปแช่ในน้ำไหลหลาย ๆ วัน แล้วนำไปนึ่งเพื่อเป็นอาหาร นอกจากใช้เป็นอาหารหลักแล้ว ยังทำอาหารได้หลายรูปแบบ เช่น ทำเป็นแป้งมันเพื่อนำไปประกอบอาหาร หัวสดยังนำมาเป็นมันทอดได้โดยปอกเปลือกแล้วฝานเป็นแผ่นบาง ๆ ก่อนนำไปทอด คนไทยนิยมนำมาเชื่อมและย่าง ทำเป็นขนมมันนึ่งมะพร้าวและน้ำตาล (สำนักวิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดิน, ม.ป.ป.)
 
=== [[มันเส้นสะอาด (cassava chip)|'''มันเส้นสะอาด''' (cassava chip)]] ===
 
=== ผลิตภัณฑ์3 ===
__FORCETOC__
__FORCETOC__
132

การแก้ไข