ระยอง 5
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
มันสําปะหลังพันธุ์ระยอง 5 เป็นพันธุ์ของกรมวิชาการเกษตรที่แนะนํา เมื่อ พ.ศ. 2537 เป็นลูกผสมระหว่าง 27-77-10 กับพันธุ์ระยอง 3[1]
ลักษณะประจำพันธุ์[2][3][แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
ลักษณะ | ระยอง 5 |
สียอดอ่อน | สีม่วงอมน้ำตาล |
การมีขนที่ยอดอ่อน | ไม่มีขน |
สีก้านใบ | สีแดงเข้ม |
ลักษณะใบ | ใบหอก |
ลักษณะหูใบ | โคนหูใบสีแดงเข้ม ปลายหูใบตั้ง |
ลักษณะทรงต้น/ระดับการแตกกิ่ง | ลำต้นตรง 2 – 3 ระดับ |
สีลำต้น | สีเขียวอมน้ำตาล |
สีของเปลือกหัว | สีน้ำตาลอ่อน |
ลักษณะหัว | กรวยแกมกระบอก |
สีเนื้อหัว | สีขาว |
ลักษณะเด่น | ปรับตัวได้ดีกับหลายสภาพแวดล้อม แป้งในหัวสูง ท่อนพันธุ์งอกดี หัวอ้วนสั้นเก็บเกี่ยวได้งาย |
ข้อจำกัด | ค่อนข้างอ่อนแอต่อโรคใบไหม้ ทรงต้นแตกกิ่งได้ต้นพันธุ์น้อย |
เปอร์เซ็นต์แป้งในฤดูฝน (%) | 22.7 |
เปอร์เซ็นต์แป้งในฤดูแล้ง (%) | 25 – 27 |
ผลผลิตหัวสด (ตัน/ไร่) | 4.4 |
อ้างอิง[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
- ↑ มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. 2552. เอกสารวิชาการการปลูกมันสำปะหลังที่ดี
- ↑ กรมวิชาการเกษตร. 2552. การจำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง. โรงพิมพ์สำนักงานพุทธศาสนาแห่งชาติ.
- ↑ กรมส่งเสริมการเกษตร. 2558. คู่มือการจำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง. บริษัท ซัน แพคเกจจิ้ง (2014) จำกัด.