ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พิรุณ 1"
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
บรรทัดที่ 51: | บรรทัดที่ 51: | ||
[[ไฟล์:Imageยอดพิรุณ1.png|center|thumb|ภาพแสดงลักษณะยอดมันสำปะหลังพิรุณ1]] | [[ไฟล์:Imageยอดพิรุณ1.png|center|thumb|ภาพแสดงลักษณะยอดมันสำปะหลังพิรุณ1]] | ||
[[ไฟล์:Imageหูใบพิรุณ1.png|center|thumb|496x496px|ภาพแสดงลักษณะหูใบมันสำปะหลังพิรุณ1]] | [[ไฟล์:Imageหูใบพิรุณ1.png|center|thumb|496x496px|ภาพแสดงลักษณะหูใบมันสำปะหลังพิรุณ1]] | ||
[[ไฟล์:Imageก้านใบพิรุณ1.png|center|thumb | [[ไฟล์:Imageก้านใบพิรุณ1".png|center|thumb|ภาพแสดงลักษณะก้านใบมันสำปะหลังพิรุณ1]] | ||
[[ไฟล์:Imageใบพิรุณ1.png|center|thumb|458x458px|ภาพแสดงลักษณะใบมันสำปะหลังพิรุณ1]] | [[ไฟล์:Imageใบพิรุณ1.png|center|thumb|458x458px|ภาพแสดงลักษณะใบมันสำปะหลังพิรุณ1]] | ||
[[ไฟล์:Imageสีลำต้นพิรุณ1.png|center|thumb|422x422px|ภาพแสดงลักษณะสีลำต้นมันสำปะหลังพิรุณ1]] | [[ไฟล์:Imageสีลำต้นพิรุณ1.png|center|thumb|422x422px|ภาพแสดงลักษณะสีลำต้นมันสำปะหลังพิรุณ1]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 09:06, 3 ธันวาคม 2564
ได้รับการรับรองพันธุ์พืชขึ้นทะเบียนจากกรมวิชาการเกษตรเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2559 เป็นพันธุ์มันสำปะหลังที่ส่งเข้าอุตสาหกรรมแป้งมันสำปะหลัง มีความต้านทานต่อโรคและแมลง ทรงต้นมีการแตกกิ่งเหนือศีรษะ ลำต้นตั้งตรง แข็งแรงไม่ฉีกหักง่าย สะดวกต่อการดูแลรักษาและเก็บเกี่ยว ลำต้นเป็นแบบซิกแซกทำให้สังเกตพันธุ์ปนได้ง่าย ปลายหัวทู่ทำให้หัวหักยากกว่าปลายหัวแหลมเมื่อขุดหรือเก็บเกี่ยว มีก้านที่ขั้วหัวทำให้ตัดง่าย เกิดบาดแผลที่หัวน้อย เนื่องจากมีก้านที่ขั้วหัวทำให้หัวเน่ายากสามารถเก็บรักษาหัวมันในลานก่อนเข้าโรงงานแป้งได้นานกว่าปกติ[1]
ลักษณะประจำพันธุ์[2][แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
ลักษณะ | พิรุณ 1 |
สียอดอ่อน | สีม่วงอมเขียว |
การมีขนที่ยอดอ่อน | ไม่มีขน |
สีก้านใบ | สีเขียวอมชมพู |
ลักษณะใบ | ใบหอก |
ลักษณะหูใบ | หูใบสีเขียวยาว |
ลักษณะทรงต้น/ระดับการแตกกิ่ง | ทรงต้นแตกกิ่ง 1 – 3 ระดับ |
สีลำต้น | สีเขียวเงิน |
สีของเปลือกหัว | สีน้ำตาลเข้ม |
ลักษณะหัว | กระบอก |
สีเนื้อหัว | สีขาว |
ลักษณะเด่น | ลำต้นเป็นแบบซิกแซก เหมาะสำหรับปลูกในดินเหนียวสีแดง และร่วนปนเหนียว |
ข้อจำกัด | ไม่เหมาะกับดินเหนียวสีดำ |
เปอร์เซ็นต์แป้ง (%) | 22 – 28.7 |
ผลผลิตหัวสด (ตัน/ไร่) | 6.6 |