ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การจำแนกพันธุ์"

จาก Cassava
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
บรรทัดที่ 46: บรรทัดที่ 46:
*#สีขาว เช่น พันธุ์[[ระยอง 1]] [[ระยอง 3]] [[ระยอง 5]] [[ระยอง 7]] [[ระยอง 72]] [[ระยอง 90]] [[ระยอง 11]] [[เกษตรศาสตร์ 50]] [[ห้วยบง 60]] [[ห้วยบง 80]]
*#สีขาว เช่น พันธุ์[[ระยอง 1]] [[ระยอง 3]] [[ระยอง 5]] [[ระยอง 7]] [[ระยอง 72]] [[ระยอง 90]] [[ระยอง 11]] [[เกษตรศาสตร์ 50]] [[ห้วยบง 60]] [[ห้วยบง 80]]
*#สีขาวครีม เช่น พันธุ์[[ระยอง 60]]   
*#สีขาวครีม เช่น พันธุ์[[ระยอง 60]]   
__FORCETOC__

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:44, 30 มิถุนายน 2564

มันสำปะหลังสามารถปลูกได้หลายพื้นที่ของประเทศไทย ที่มีความแตกต่างกันทั้งในด้านสภาพแวดล้อมและสภาพอากาศ อย่างไรก็ดีมันสำปะหลังแต่ละพันธุ์สามารถเจริญเติบโตและให้ผลผลิตได้ดีในพื้นที่ที่แตกต่างกัน ดังนั้นการเลือกพันธุ์ที่เหมาะสมต่อพื้นที่ปลูกจะช่วยเพิ่มโอกาสในการได้ผลผลิตเต็มศักยภาพของพันธุ์ ปัญหาที่สำคัญในการเลือกพันธุ์มันสำปะหลัง คือ ไม่สามารถจำแนกพันธุ์มันสำปะหลังที่จะใช้ปลูกได้ เนื่องจากไม่ทราบลักษณะเด่นประจำพันธุ์ ส่งผลให้ไม่ได้ผลผลิตตามที่คาดการณ์และทำให้ไม่สามารถเลือกขยายพันธุ์มันสำปะหลังได้ตามจำนวนที่ต้องการ

หน่วยงานที่มีการพัฒนาพันธุ์มันสำปะหลัง เช่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ กรมวิชาการเกษตร ได้จำแนกพันธุ์มันสำปะหลังในประเทศไทย โดยเฉพาะพันธุ์การค้า ตามลักษณะเด่นของแต่ละพันธุ์ (คู่มือจำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง, 2558) โดยลักษณะที่นำมาใช้จำแนก ได้แก่

ลักษณะเด่นที่ใช้จำแนกพันธุ์