ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระยอง 3"

จาก Cassava
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
(สร้างหน้าด้วย "หมวดหมู่:พันธุ์")
 
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
[[หมวดหมู่:พันธุ์]]
[[หมวดหมู่:พันธุ์]]
มันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 3 เป็นพันธุ์แรกที่ผลิตขึ้นมาส่งเสริม เมื่อ พ.ศ. 2526 เกิดจากการผสมระหว่างพันธุ์ Mmex 55 กับพันธุ์ Mven 307 โดยศูนย์เกษตรเขตร้อนนานาชาติ (Centro Internacional de Agricultura Tropical) หรือเซียท (CIAT) นําเมล็ดมาปลูกคัดเลือกในประเทศไทยช่วงปี พ.ศ.2518 – 2524 ทางราชการและสมาคมการค้ามันสําปะหลังไทยเคยส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกพันธุ์ระยอง 3                  เป็นอย่างมาก แต่ก็ไม่ประสบความสําเร็จ เกษตรกรไม่นิยมเนื่องจากมีลักษณะต้นเตี้ย ขนาดต้นเล็ก ปกคลุมวัชพืชได้ไม่ดี และขยายพันธุ์ได้น้อย<ref>มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. 2552. เอกสารวิชาการการปลูกมันสำปะหลังที่ดี</ref>
== ลักษณะประจำพันธุ์<ref>กรมวิชาการเกษตร. 2552. การจำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง. โรงพิมพ์สำนักงานพุทธศาสนาแห่งชาติ.</ref><ref>กรมส่งเสริมการเกษตร. 2558. คู่มือการจำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง. บริษัท ซัน แพคเกจจิ้ง (2014) จำกัด.</ref> ==
{| class="wikitable"
|'''ลักษณะ'''
|'''ระยอง 3'''
|-
|สียอดอ่อน
|สีเขียวอ่อน
|-
|การมีขนที่ยอดอ่อน
|มีขน
|-
|สีก้านใบ
|สีเขียวอ่อนปนแดง
|-
|ลักษณะใบ
|ใบหอกปลายมน
|-
|ลักษณะหูใบ
|หูใบมีสีเขียว ปลายหูใบงอนขึ้นคล้ายขนตา
|-
|ลักษณะทรงต้น/ระดับการแตกกิ่ง
|ลำต้นเตี้ย แตกกิ่งมาก 2 – 4 ระดับ
|-
|สีลำต้น
|สีน้ำตาลอ่อน
|-
|สีของเปลือกหัว
|สีน้ำตาลอ่อน
|-
|ลักษณะหัว
|ยาวเรียว
|-
|สีเนื้อหัว
|สีขาว
|-
|ลักษณะเด่น
|ปริมาณแป้งสูง
|-
|ข้อจำกัด
|ต้นเตี้ยและแตกกิ่ง ไม่สะดวกในการปฏิบัติดูแลรักษา
|-
|เปอร์เซ็นต์แป้งในฤดูฝน (%)
|23
|-
|เปอร์เซ็นต์แป้งในฤดูแล้ง (%)
|28
|-
|ผลผลิตหัวสด (ตัน/ไร่)
|2.73
|}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:52, 25 สิงหาคม 2564

มันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 3 เป็นพันธุ์แรกที่ผลิตขึ้นมาส่งเสริม เมื่อ พ.ศ. 2526 เกิดจากการผสมระหว่างพันธุ์ Mmex 55 กับพันธุ์ Mven 307 โดยศูนย์เกษตรเขตร้อนนานาชาติ (Centro Internacional de Agricultura Tropical) หรือเซียท (CIAT) นําเมล็ดมาปลูกคัดเลือกในประเทศไทยช่วงปี พ.ศ.2518 – 2524 ทางราชการและสมาคมการค้ามันสําปะหลังไทยเคยส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกพันธุ์ระยอง 3 เป็นอย่างมาก แต่ก็ไม่ประสบความสําเร็จ เกษตรกรไม่นิยมเนื่องจากมีลักษณะต้นเตี้ย ขนาดต้นเล็ก ปกคลุมวัชพืชได้ไม่ดี และขยายพันธุ์ได้น้อย[1]

ลักษณะประจำพันธุ์[2][3]

ลักษณะ ระยอง 3
สียอดอ่อน สีเขียวอ่อน
การมีขนที่ยอดอ่อน มีขน
สีก้านใบ สีเขียวอ่อนปนแดง
ลักษณะใบ ใบหอกปลายมน
ลักษณะหูใบ หูใบมีสีเขียว ปลายหูใบงอนขึ้นคล้ายขนตา
ลักษณะทรงต้น/ระดับการแตกกิ่ง ลำต้นเตี้ย แตกกิ่งมาก 2 – 4 ระดับ
สีลำต้น สีน้ำตาลอ่อน
สีของเปลือกหัว สีน้ำตาลอ่อน
ลักษณะหัว ยาวเรียว
สีเนื้อหัว สีขาว
ลักษณะเด่น ปริมาณแป้งสูง
ข้อจำกัด ต้นเตี้ยและแตกกิ่ง ไม่สะดวกในการปฏิบัติดูแลรักษา
เปอร์เซ็นต์แป้งในฤดูฝน (%) 23
เปอร์เซ็นต์แป้งในฤดูแล้ง (%) 28
ผลผลิตหัวสด (ตัน/ไร่) 2.73
  1. มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. 2552. เอกสารวิชาการการปลูกมันสำปะหลังที่ดี
  2. กรมวิชาการเกษตร. 2552. การจำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง. โรงพิมพ์สำนักงานพุทธศาสนาแห่งชาติ.
  3. กรมส่งเสริมการเกษตร. 2558. คู่มือการจำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง. บริษัท ซัน แพคเกจจิ้ง (2014) จำกัด.