ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคพุ่มแจ้ (witches broom)"
(สร้างหน้าด้วย "เชื้อสาเหตุเกิดจากเชื้อ ไฟโตพลาสมา (''Phytoplasma'') พบการระบาดค...") |
|||
บรรทัดที่ 2: | บรรทัดที่ 2: | ||
== ลักษณะอาการ == | == ลักษณะอาการ == | ||
[[ไฟล์:Image10.png|thumb|ลักษณะอาการแตกยอดมีลักษณะเป็นพุ่มของโรคแตกพุ่มแจ้ของมันสำปะหลัง]] | |||
บริเวณยอกจะมีการแตกยอดมากกว่าปกติ ข้อปล้องสั้น และใบมีขนาดเล็กลง สังเกตได้จากยอดมีลักษณะเป็นพุ่ม เมื่อทำการลอกเปลือกออกดูจะพบใต้เปลือกมีเส้นสีดำเป็นแนวยาว ส่งผลให้แสดงอาการยอดเป็นพุ่ม ใบเหลือง และยืนต้นตายในที่สุด ในระยะมันสำปะหลังอายุ 4-5 เดือน พบต้นมีลักษณะแคระแกรนแตกยอดเป็นพุ่มฝอย ในระยะเก็บเกี่ยวเชื้อลามลงหัว ทำให้หัวมีเส้นสีดำตามแนวยาวอยู่ใต้เปลือก คุณภาพผลผลิตเสียหาย และเปอร์เซ็นต์แป้งต่ำ | บริเวณยอกจะมีการแตกยอดมากกว่าปกติ ข้อปล้องสั้น และใบมีขนาดเล็กลง สังเกตได้จากยอดมีลักษณะเป็นพุ่ม เมื่อทำการลอกเปลือกออกดูจะพบใต้เปลือกมีเส้นสีดำเป็นแนวยาว ส่งผลให้แสดงอาการยอดเป็นพุ่ม ใบเหลือง และยืนต้นตายในที่สุด ในระยะมันสำปะหลังอายุ 4-5 เดือน พบต้นมีลักษณะแคระแกรนแตกยอดเป็นพุ่มฝอย ในระยะเก็บเกี่ยวเชื้อลามลงหัว ทำให้หัวมีเส้นสีดำตามแนวยาวอยู่ใต้เปลือก คุณภาพผลผลิตเสียหาย และเปอร์เซ็นต์แป้งต่ำ | ||
บรรทัดที่ 8: | บรรทัดที่ 9: | ||
== การป้องกันกำจัด == | == การป้องกันกำจัด == | ||
ใช้ท่อนพันธุ์ปลอดโรค โดยเลือกจากแหลงที่ไม่มีการแพร่ระบาด เมื่อปลูกในระยะ 1 เดือนหากพบต้นที่แตกยอดเป็นพุ่มผิดปกติให้ทำการถอนทิ้งทันที ในระยะ 4 เดือนหลังปลูก หากพบต้นที่แตกพุ่ม ให้หักกิ่งต่ำลงจากยอดพุ่มประมาณ 30 เซนติเมตร ทิ้งและพ่นสารกำจัดแมลงให้ทั่วแปลง เนื่องจากโรคนี้สามารถถ่ายทอดได้โดยแมลงพาหะ จากนั้นทำการกำจัดวัชพืชทั้งในและโดยรอบแปลง โดยเฉพาะสาบม่วง ที่เป็นแหล่งอาศัยของโรค และทำการบำรุงรักษาต้นมันสำปะหลัง โดยการให้น้ำ ปุ๋ย และปรุบปรุงดินอย่างเหมาะสม เพื่อให้ต้นแข็งแรง (สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, 2559) | ใช้ท่อนพันธุ์ปลอดโรค โดยเลือกจากแหลงที่ไม่มีการแพร่ระบาด เมื่อปลูกในระยะ 1 เดือนหากพบต้นที่แตกยอดเป็นพุ่มผิดปกติให้ทำการถอนทิ้งทันที ในระยะ 4 เดือนหลังปลูก หากพบต้นที่แตกพุ่ม ให้หักกิ่งต่ำลงจากยอดพุ่มประมาณ 30 เซนติเมตร ทิ้งและพ่นสารกำจัดแมลงให้ทั่วแปลง เนื่องจากโรคนี้สามารถถ่ายทอดได้โดยแมลงพาหะ จากนั้นทำการกำจัดวัชพืชทั้งในและโดยรอบแปลง โดยเฉพาะสาบม่วง ที่เป็นแหล่งอาศัยของโรค และทำการบำรุงรักษาต้นมันสำปะหลัง โดยการให้น้ำ ปุ๋ย และปรุบปรุงดินอย่างเหมาะสม เพื่อให้ต้นแข็งแรง (สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, 2559)<ref>ลักษณะอาการของโรคลำต้นไหม้บริเวณลำต้นของมันสำปะหลัง</ref> | ||
[[หมวดหมู่:โรค]] | [[หมวดหมู่:โรค]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 06:11, 1 กรกฎาคม 2564
เชื้อสาเหตุเกิดจากเชื้อ ไฟโตพลาสมา (Phytoplasma) พบการระบาดครั้งแรกในไป พ.ศ. 2557 ที่จังหวัดระยอง ต่อมาพบการระบากในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังภาคตะวันออก และบางอำเภอในจังหวัดกำแพงเพชร และนครราชสีมา
ลักษณะอาการ[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
บริเวณยอกจะมีการแตกยอดมากกว่าปกติ ข้อปล้องสั้น และใบมีขนาดเล็กลง สังเกตได้จากยอดมีลักษณะเป็นพุ่ม เมื่อทำการลอกเปลือกออกดูจะพบใต้เปลือกมีเส้นสีดำเป็นแนวยาว ส่งผลให้แสดงอาการยอดเป็นพุ่ม ใบเหลือง และยืนต้นตายในที่สุด ในระยะมันสำปะหลังอายุ 4-5 เดือน พบต้นมีลักษณะแคระแกรนแตกยอดเป็นพุ่มฝอย ในระยะเก็บเกี่ยวเชื้อลามลงหัว ทำให้หัวมีเส้นสีดำตามแนวยาวอยู่ใต้เปลือก คุณภาพผลผลิตเสียหาย และเปอร์เซ็นต์แป้งต่ำ
การแพร่ระบาด[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
เชื้อสามารถแพร่ระบาดไปได้กับท่อนพันธุ์ และมีแมลงพาหะเป็นเพลี้ยจักจั่นสีน้ำตาล
การป้องกันกำจัด[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
ใช้ท่อนพันธุ์ปลอดโรค โดยเลือกจากแหลงที่ไม่มีการแพร่ระบาด เมื่อปลูกในระยะ 1 เดือนหากพบต้นที่แตกยอดเป็นพุ่มผิดปกติให้ทำการถอนทิ้งทันที ในระยะ 4 เดือนหลังปลูก หากพบต้นที่แตกพุ่ม ให้หักกิ่งต่ำลงจากยอดพุ่มประมาณ 30 เซนติเมตร ทิ้งและพ่นสารกำจัดแมลงให้ทั่วแปลง เนื่องจากโรคนี้สามารถถ่ายทอดได้โดยแมลงพาหะ จากนั้นทำการกำจัดวัชพืชทั้งในและโดยรอบแปลง โดยเฉพาะสาบม่วง ที่เป็นแหล่งอาศัยของโรค และทำการบำรุงรักษาต้นมันสำปะหลัง โดยการให้น้ำ ปุ๋ย และปรุบปรุงดินอย่างเหมาะสม เพื่อให้ต้นแข็งแรง (สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, 2559)[1]
- ↑ ลักษณะอาการของโรคลำต้นไหม้บริเวณลำต้นของมันสำปะหลัง