ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคแอนแทรคโนส (Anthracnose)"
(สร้างหน้าด้วย "== ลักษณะอาการ == จะแสดงอาการในส่วนของยอด ลำต้น ก้านใบ แล...") |
|||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
== ลักษณะอาการ == | == ลักษณะอาการ == | ||
จะแสดงอาการในส่วนของยอด ลำต้น ก้านใบ และใบ โดยในส่วนยอดจะแสดงอาการยอดตายแผลมีขอบชัดเจน สีน้ำตาลถึงดำ ก้านใบจะแสดงเป็นรอยไหม้ที่โคนก้านใบติดกับลำต้น และก้านใบที่อยู่ติดกับตัวใบหักลู่ลงในที่สุดจะหลุดร่วงทั้งต้น ใบ มีอาการไหม้ที่ขอบใบ และปลายใบ ขยายตัวเข้าสู่กลางใบและไหม้หมดในที่สุด ถ้าเป็นพันธุ์ที่อ่อนแอมาก จะมีอาการยืนต้นตาย หรือพันธุ์ที่ค่อนข้างทนทานต่อโรค ยอดจะหักทำให้มีการแตกกิ่งหรือยอดใหม่มาทดแทน นอกจากนี้ยังส่งผลต่อการงอกของเมล็ดพันธุ์และท่อนพันธุ์ที่นำไปปลูก ทำให้อัตราการงอกและความสมบูรณ์ของต้นลดลง (สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, 2559) | [[ไฟล์:Image7.png|thumb|ลักษณะอาการของโรคแอนแทรคโนสบริเวณยอด ก้านใบ และกิ่ง ของมันสำปะหลัง]] | ||
จะแสดงอาการในส่วนของยอด ลำต้น ก้านใบ และใบ โดยในส่วนยอดจะแสดงอาการยอดตายแผลมีขอบชัดเจน สีน้ำตาลถึงดำ ก้านใบจะแสดงเป็นรอยไหม้ที่โคนก้านใบติดกับลำต้น และก้านใบที่อยู่ติดกับตัวใบหักลู่ลงในที่สุดจะหลุดร่วงทั้งต้น ใบ มีอาการไหม้ที่ขอบใบ และปลายใบ ขยายตัวเข้าสู่กลางใบและไหม้หมดในที่สุด ถ้าเป็นพันธุ์ที่อ่อนแอมาก จะมีอาการยืนต้นตาย หรือพันธุ์ที่ค่อนข้างทนทานต่อโรค ยอดจะหักทำให้มีการแตกกิ่งหรือยอดใหม่มาทดแทน นอกจากนี้ยังส่งผลต่อการงอกของเมล็ดพันธุ์และท่อนพันธุ์ที่นำไปปลูก ทำให้อัตราการงอกและความสมบูรณ์ของต้นลดลง (สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, 2559)<ref>สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช. 2559. คู่มือการจัดการ ปัญหาศัตรูมันสำปะหลังแบบผสมผสาน. การันตี, กรุงเทพฯ.</ref> | |||
== การแพร่ระบาด == | == การแพร่ระบาด == | ||
บรรทัดที่ 6: | บรรทัดที่ 7: | ||
== การป้องกันกำจัด == | == การป้องกันกำจัด == | ||
ตัดส่วนที่ป็นโรคไปเผาทำลาย พ่นสารเบโนมิล (benomyl) หรือการใช้เชื้อราปฏิปักษ์ไตรโคเดอร์มา ฮาเซียนัม (''Trichoderma harzianum'') พ่นควบคุมโรค 3 – 5 ครั้งจนกว่าโรคจะหยุดระบาด (สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, 2559) | ตัดส่วนที่ป็นโรคไปเผาทำลาย พ่นสารเบโนมิล (benomyl) หรือการใช้เชื้อราปฏิปักษ์ไตรโคเดอร์มา ฮาเซียนัม (''Trichoderma harzianum'') พ่นควบคุมโรค 3 – 5 ครั้งจนกว่าโรคจะหยุดระบาด (สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, 2559)<ref>สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช. 2559. คู่มือการจัดการ ปัญหาศัตรูมันสำปะหลังแบบผสมผสาน. การันตี, กรุงเทพฯ.</ref> | ||
== อ้างอิง == | |||
* | |||
[[หมวดหมู่:โรค]] | [[หมวดหมู่:โรค]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 05:56, 1 กรกฎาคม 2564
ลักษณะอาการ[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
จะแสดงอาการในส่วนของยอด ลำต้น ก้านใบ และใบ โดยในส่วนยอดจะแสดงอาการยอดตายแผลมีขอบชัดเจน สีน้ำตาลถึงดำ ก้านใบจะแสดงเป็นรอยไหม้ที่โคนก้านใบติดกับลำต้น และก้านใบที่อยู่ติดกับตัวใบหักลู่ลงในที่สุดจะหลุดร่วงทั้งต้น ใบ มีอาการไหม้ที่ขอบใบ และปลายใบ ขยายตัวเข้าสู่กลางใบและไหม้หมดในที่สุด ถ้าเป็นพันธุ์ที่อ่อนแอมาก จะมีอาการยืนต้นตาย หรือพันธุ์ที่ค่อนข้างทนทานต่อโรค ยอดจะหักทำให้มีการแตกกิ่งหรือยอดใหม่มาทดแทน นอกจากนี้ยังส่งผลต่อการงอกของเมล็ดพันธุ์และท่อนพันธุ์ที่นำไปปลูก ทำให้อัตราการงอกและความสมบูรณ์ของต้นลดลง (สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, 2559)[1]
การแพร่ระบาด[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
โรคนี้สามารถระบาดไปกับท่อนพันธุ์และเมล็ดพันธุ์ได้
การป้องกันกำจัด[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
ตัดส่วนที่ป็นโรคไปเผาทำลาย พ่นสารเบโนมิล (benomyl) หรือการใช้เชื้อราปฏิปักษ์ไตรโคเดอร์มา ฮาเซียนัม (Trichoderma harzianum) พ่นควบคุมโรค 3 – 5 ครั้งจนกว่าโรคจะหยุดระบาด (สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, 2559)[2]