ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การจำแนกพันธุ์"

จาก Cassava
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
(สร้างหน้าด้วย "มันสำปะหลังสามารถปลูกได้หลายพื้นที่ของประเทศไทย ที่...")
 
บรรทัดที่ 11: บรรทัดที่ 11:
*# สีม่วงอมน้ำตาล เช่น พันธุ์[[ระยอง 5]] [[ระยอง 11]]
*# สีม่วงอมน้ำตาล เช่น พันธุ์[[ระยอง 5]] [[ระยอง 11]]
*# สีม่วง เช่น พันธุ์[[ระยอง 72]] [[ระยอง 1]] [[เกษตรศาสตร์ 50]] [[ห้วยบง 60]]
*# สีม่วง เช่น พันธุ์[[ระยอง 72]] [[ระยอง 1]] [[เกษตรศาสตร์ 50]] [[ห้วยบง 60]]
*'''ขนที่ยอดอ่อน''' มันสำปะหลังพันธุ์ที่ไม่มีขนอ่อนมักจะมีลักษณะเงา มัน ส่วนมันสำปะหลังที่มีขนอ่อนมักจะมีลักษณะด้าน เมื่อสัมผัสจะนุ่มมือ
*#ยอดอ่อนไม่มีขน เช่น พันธุ์[[ระยอง 90]] [[ระยอง 5]] [[ระยอง 7]] [[ระยอง 9]] [[ระยอง 72]] [[ห้วยบง 60]] [[ห้วยบง 80]] [[ระยอง 11]] [[เกษตรศาสตร์ 50]]
*'''สีก้านใบ''' สีของก้านใบ ดูที่ก้านใบในตำแหน่งใบที่ 5 จากใบยอดที่คลี่เต็มที่แล้ว 5 ใบจากยอด เมื่ออายุประมาณ 3 – 6 เดือนหลังปลูก
*#สีเขียวอ่อน เช่น พันธุ์[[ระยอง 90]]
*#สีเขียวอมชมพู เช่น [[ระยอง 3]] [[ระยอง 7]] [[ระยอง 9]]
*#สีเขียวอมแดง เช่น พันธุ์[[ระยอง 1]] [[ระยอง 60]] [[ระยอง 11]] [[ห้วยบง 60]] [[เกษตรศาสตร์ 5]] [[ห้วยบง 80]]
*#สีแดงเข้ม เช่น พันธุ์[[ระยอง 5]] [[ระยอง 72]]
*'''รูปร่างของแฉกที่อยู่กลางใบ''' ใบมันสำปะหลังเป็นแบบใบเดี่ยว แผ่นใบเว้าเป็นแฉก มีรูปร่างและจำนวนแฉกแตกต่างกันไปตามพันธุ์ โดยปกติมี 3 – 9 แฉก ยาวประมาณ 4 – 20 ซม. กว้างประมาณ 1 – 6 ซม. รูปทรงของแฉกแตกต่างกัน เช่น เรียวยาว สั้นป้อม สังเกตุเมื่ออายุประมาณ 3 – 4 เดือนหลังปลูก โดยดูในตำแหน่งใบที่ 5 จากใบยอดที่คลี่เต็มที่
*#รูปแถบ (linear)
*#รูปรี (elliptic)
*#รูปใบหอก (lanceolate) เช่น พันธุ์[[ระยอง 90]] [[ระยอง 5]] [[ระยอง 7]] [[ระยอง 9]] [[ระยอง 72]] [[ห้วยบง 60]] [[ห้วยบง 80]] [[ระยอง 11]]
*#รูปใบหอกกลับ (oblanceolate)
*#รูปไวโอลิน (pandurate) เช่น [[CMR35-22-19]]
*'''สีลำต้น'''
*#สีเขียวเงิน เช่น พันธุ์[[ระยอง 1]] [[ระยอง 72]] [[ระยอง 11]] [[เกษตรศาสตร์ 50]] [[ห้วยบง 60]] [[ห้วยบง 80]]
*#สีเขียวอมน้ำตาล เช่น พันธุ์[[ระยอง 5]]
*#สีน้ำตาลอมเหลือง เช่น พันธุ์[[ระยอง 9]]
*#สีน้ำตาลอมส้ม เช่น พันธุ์[[ระยอง 90]]
*#น้ำตาลอ่อน เช่น พันธุ์ [[ระยอง 3]] [[ระยอง 7]] [[ระยอง 60]]
*'''ลักษณะหูใบ''' ส่วนของโคนก้านใบที่ติดกับลำต้นมีหูใบ (stipule) มีรูปร่าง ขนาด และสีเฉพาะแต่ละพันธุ์ เช่นพันธุ์[[ระยอง 72]] หูใบมีสีแดงเข้มปลายหูใบงอนขึ้นคล้ายขนตา พันธุ์[[ระยอง 11]] หูใบมีสีเขียวคาดสีแดง และพันธุ์[[ห้วยบง 60]] หูใบมีสีเขียวยาว
*'''ลักษณะทรงต้นหรือการแตกกิ่ง''' บางพันธุ์ลำต้นเป็นต้นเดี่ยว ไม่มีการแตกกิ่ง บางพันธุ์มีการแตกกิ่งหลายระดับ โดยเท่าที่พบจะไม่เกิน 4 กิ่ง พันธุ์ที่มีการแตกกิ่งมากและแตกกิ่งหลายระดับจะมีลักษณะเป็นพุ่มเตี้ย พันธุ์ที่มีการแตกกิ่งน้อยจะสูง ได้แก่
*#ทรงต้นแตกกิ่ง 0 – 1 ระดับ เช่น พันธุ์[[ระยอง 1]] [[ระยอง 7]] [[ระยอง 9]] [[ระยอง 60]] [[ระยอง 72]]
*#ทรงต้นแตกกิ่ง 1 – 3 ระดับ เช่น พันธุ์[[ระยอง 11]] [[ระยอง 5]] [[ห้วยบง 60]] [[ห้วยบง 80]] [[เกษตรศาสตร์ 50]]
*#ทรงต้นแตกกิ่ง 2 – 4 ระดับ เช่น พันธุ์[[ระยอง 3]] [[ระยอง 90]]
*'''ขั้วหัว''' เป็นลักษณะที่สังเกตได้ในระยะเก็บเกี่ยว ได้แก่
*#มีขั้ว เช่น พันธุ์[[ระยอง 72]]
*#ไม่มีขั้ว เช่น พันธุ์[[ระยอง 1]] [[ระยอง 7]] [[ระยอง 9]] [[ระยอง 60]] [[ระยอง 90]] [[ระยอง 11]] [[เกษตรศาสตร์ 50]] [[ห้วยบง 60]] [[ห้วยบง 80]]
*'''สีเปลือกหัว''' เป็นลักษณะที่สังเกตได้ในระยะเก็บเกี่ยว ได้แก่
*#สีขาวครีม เช่นพันธุ์[[ระยอง 7]] [[ระยอง 72]]
*#สีน้ำตาล เช่น พันธุ์ [[ระยอง 11]]
*#สีน้ำตาลอ่อน เช่น พันธุ์[[ระยอง 1]] [[ระยอง 3]] [[ระยอง 5]] [[ระยอง 9]] [[ระยอง 60]] [[เกษตรศาสตร์ 50]] [[ห้วยบง 60]] [[ห้วยบง 80]]
*#สีน้ำตาลเข้ม เช่น พันธุ์[[ระยอง 90]]
*'''สีเนื้อหัว''' มีสองแบบ ได้แก่
*#สีขาว เช่น พันธุ์[[ระยอง 1]] [[ระยอง 3]] [[ระยอง 5]] [[ระยอง 7]] [[ระยอง 72]] [[ระยอง 90]] [[ระยอง 11]] [[เกษตรศาสตร์ 50]] [[ห้วยบง 60]] [[ห้วยบง 80]]
*#สีขาวครีม เช่น พันธุ์[[ระยอง 60]]   

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:26, 30 มิถุนายน 2564

มันสำปะหลังสามารถปลูกได้หลายพื้นที่ของประเทศไทย ที่มีความแตกต่างกันทั้งในด้านสภาพแวดล้อมและสภาพอากาศ อย่างไรก็ดีมันสำปะหลังแต่ละพันธุ์สามารถเจริญเติบโตและให้ผลผลิตได้ดีในพื้นที่ที่แตกต่างกัน ดังนั้นการเลือกพันธุ์ที่เหมาะสมต่อพื้นที่ปลูกจะช่วยเพิ่มโอกาสในการได้ผลผลิตเต็มศักยภาพของพันธุ์ ปัญหาที่สำคัญในการเลือกพันธุ์มันสำปะหลัง คือ ไม่สามารถจำแนกพันธุ์มันสำปะหลังที่จะใช้ปลูกได้ เนื่องจากไม่ทราบลักษณะเด่นประจำพันธุ์ ส่งผลให้ไม่ได้ผลผลิตตามที่คาดการณ์และทำให้ไม่สามารถเลือกขยายพันธุ์มันสำปะหลังได้ตามจำนวนที่ต้องการ

หน่วยงานที่มีการพัฒนาพันธุ์มันสำปะหลัง เช่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ กรมวิชาการเกษตร ได้จำแนกพันธุ์มันสำปะหลังในประเทศไทย โดยเฉพาะพันธุ์การค้า ตามลักษณะเด่นของแต่ละพันธุ์ (คู่มือจำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง, 2558) โดยลักษณะที่นำมาใช้จำแนก ได้แก่

ลักษณะเด่นที่ใช้จำแนกพันธุ์