ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระยอง 11"

จาก Cassava
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
(สร้างหน้าด้วย "มันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 11 เป็นพันธุ์ที่ได้จากการผสมข้...")
 
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
มันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 11 เป็นพันธุ์ที่ได้จากการผสมข้ามระหว่างพันธุ์ระยอง 5 ซึ่งเป็นพันธุ์ที่ให้ผลผลิตสูงเป็นแม่ และพันธุ์ OMR 29-20-118 ที่มีเปอร์เซ็นต์แป้งสูงเป็นพ่อ ใน พ.ศ. 2535 ที่ศูนย์วิจัยพืชไร่ระยอง รับรองพันธุ์ในปี พ.ศ. 2553<ref>มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. 2552. เอกสารวิชาการการปลูกมันสำปะหลังที่ดี</ref>
มันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 11 เป็นพันธุ์ที่ได้จากการผสมข้ามระหว่างพันธุ์[[ระยอง 5]] ซึ่งเป็นพันธุ์ที่ให้ผลผลิตสูงเป็นแม่ และพันธุ์ OMR 29-20-118 ที่มีเปอร์เซ็นต์แป้งสูงเป็นพ่อ ใน พ.ศ. 2535 ที่ศูนย์วิจัยพืชไร่ระยอง รับรองพันธุ์ในปี พ.ศ. 2553<ref>มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. 2552. เอกสารวิชาการการปลูกมันสำปะหลังที่ดี</ref>


== ลักษณะประจำพันธุ์<ref>กรมวิชาการเกษตร. 2552. การจำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง. โรงพิมพ์สำนักงานพุทธศาสนาแห่งชาติ.</ref><ref>กรมส่งเสริมการเกษตร. 2558. คู่มือการจำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง. บริษัท ซัน แพคเกจจิ้ง (2014) จำกัด.</ref> ==
== ลักษณะประจำพันธุ์<ref>กรมวิชาการเกษตร. 2552. การจำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง. โรงพิมพ์สำนักงานพุทธศาสนาแห่งชาติ.</ref><ref>กรมส่งเสริมการเกษตร. 2558. คู่มือการจำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง. บริษัท ซัน แพคเกจจิ้ง (2014) จำกัด.</ref> ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:59, 25 สิงหาคม 2564

มันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 11 เป็นพันธุ์ที่ได้จากการผสมข้ามระหว่างพันธุ์ระยอง 5 ซึ่งเป็นพันธุ์ที่ให้ผลผลิตสูงเป็นแม่ และพันธุ์ OMR 29-20-118 ที่มีเปอร์เซ็นต์แป้งสูงเป็นพ่อ ใน พ.ศ. 2535 ที่ศูนย์วิจัยพืชไร่ระยอง รับรองพันธุ์ในปี พ.ศ. 2553[1]

ลักษณะประจำพันธุ์[2][3]

ลักษณะ ระยอง 11
สียอดอ่อน สีม่วงอมเขียว
การมีขนที่ยอดอ่อน ไม่มีขน
สีก้านใบ สีเขียวอมแดง
ลักษณะใบ ใบหอก
ลักษณะหูใบ ปลายหูใบงอนคล้ายขนตา
ลักษณะทรงต้น/ระดับการแตกกิ่ง ลำต้นตรง แตกกิ่งสูง 1 – 3 ระดับ
สีลำต้น สีเขียวเงิน
สีของเปลือกหัว สีน้ำตาล
ลักษณะหัว กรวยแกมกระบอก
สีเนื้อหัว สีขาว
ลักษณะเด่น มีปริมาณแป้งสูง
ข้อจำกัด ควรเก็บเกี่ยวเมื่ออายุ 12 เดือน เนื่องจากมีเปอร์เซ็นต์แป้งสูง แต่สะสมน้ำหนักช้า
เปอร์เซ็นต์แป้งในฤดูฝน (%) 25.8
เปอร์เซ็นต์แป้งในฤดูแล้ง (%) 42.8
ผลผลิตหัวสด (ตัน/ไร่) 4.77

อ้างอิง

  1. มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. 2552. เอกสารวิชาการการปลูกมันสำปะหลังที่ดี
  2. กรมวิชาการเกษตร. 2552. การจำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง. โรงพิมพ์สำนักงานพุทธศาสนาแห่งชาติ.
  3. กรมส่งเสริมการเกษตร. 2558. คู่มือการจำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง. บริษัท ซัน แพคเกจจิ้ง (2014) จำกัด.