ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ห้านาที"
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
มันสำปะหลังพันธุ์ห้านาที เป็นพันธุ์พื้นเมืองที่มีปลูกมานานในประเทศไทย (คาดว่ามาจากทางภาคใต้ผ่านมาทางประเทศมาเลเซีย) โดยไม่ทราบเวลานำเข้าที่แน่นอน มีการปลูกจำนวนเล็กน้อยเพื่อการบริโภค มีปริมาณกรดไฮโดรไซยานิคในหัวค่อนข้างต่ำ เหมาะสำหรับทำขนม เช่น เชื่อม ย่าง เป็นต้น | มันสำปะหลังพันธุ์ห้านาที เป็นพันธุ์พื้นเมืองที่มีปลูกมานานในประเทศไทย (คาดว่ามาจากทางภาคใต้ผ่านมาทางประเทศมาเลเซีย) โดยไม่ทราบเวลานำเข้าที่แน่นอน มีการปลูกจำนวนเล็กน้อยเพื่อการบริโภค มีปริมาณกรดไฮโดรไซยานิคในหัวค่อนข้างต่ำ เหมาะสำหรับทำขนม เช่น เชื่อม ย่าง เป็นต้น<ref>มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. 2552. เอกสารวิชาการการปลูกมันสำปะหลังที่ดี</ref> | ||
== ลักษณะประจำพันธุ์ == | == ลักษณะประจำพันธุ์<ref>กรมวิชาการเกษตร. 2552. การจำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง. โรงพิมพ์สำนักงานพุทธศาสนาแห่งชาติ.</ref><ref>กรมส่งเสริมการเกษตร. 2558. คู่มือการจำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง. บริษัท ซัน แพคเกจจิ้ง (2014) จำกัด.</ref> == | ||
'''ตาราง''' แสดงลักษณะประจำพันธุ์ของมันสำปะหลังพันธุ์ห้านาที | '''ตาราง''' แสดงลักษณะประจำพันธุ์ของมันสำปะหลังพันธุ์ห้านาที | ||
{| class="wikitable" | {| class="wikitable" |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:17, 25 สิงหาคม 2564
มันสำปะหลังพันธุ์ห้านาที เป็นพันธุ์พื้นเมืองที่มีปลูกมานานในประเทศไทย (คาดว่ามาจากทางภาคใต้ผ่านมาทางประเทศมาเลเซีย) โดยไม่ทราบเวลานำเข้าที่แน่นอน มีการปลูกจำนวนเล็กน้อยเพื่อการบริโภค มีปริมาณกรดไฮโดรไซยานิคในหัวค่อนข้างต่ำ เหมาะสำหรับทำขนม เช่น เชื่อม ย่าง เป็นต้น[1]
ลักษณะประจำพันธุ์[2][3]
ตาราง แสดงลักษณะประจำพันธุ์ของมันสำปะหลังพันธุ์ห้านาที
ลักษณะ | ห้านาที |
สียอดอ่อน | · สีเขียว |
การมีขนที่ยอดอ่อน | · ไม่มี |
สีก้านใบ | · สีแดง |
ลักษณะใบ | · ใบหอก |
ลักษณะหูใบ | · โคนหูใบสีแดง ปลายงอนคล้ายขนตา |
ลักษณะทรงต้น/ระดับการแตกกิ่ง | · ลำต้นตรงสูง แตกกิ่งสูง 0 – 1 ระดับ |
สีลำต้น | · สีน้ำตาลเข้ม |
สีของเปลือกหัว | · สีน้ำตาลเข้ม |
ลักษณะหัว | · หัวเรียวยาว |
สีเนื้อหัว | · ขาว |
ลักษณะเด่น | · กรดไฮโดรไซยานิคในหัวค่อนข้างต่ำ เนื้อหัวร่วน เหมาะสำหรับรับประทาน |
ข้อจำกัด | · ไม่ควรเก็บเกี่ยวอายุเกิน 10 เดือน เพราะจะมีเส้นใยมาก ในสภาพสวนเก็บเกี่ยวอายุ 8 เดือน |
ผลผลิตหัวสด (ตัน/ไร่) | · 1.5 – 2 |
- ↑ มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. 2552. เอกสารวิชาการการปลูกมันสำปะหลังที่ดี
- ↑ กรมวิชาการเกษตร. 2552. การจำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง. โรงพิมพ์สำนักงานพุทธศาสนาแห่งชาติ.
- ↑ กรมส่งเสริมการเกษตร. 2558. คู่มือการจำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง. บริษัท ซัน แพคเกจจิ้ง (2014) จำกัด.