ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การจำแนกพันธุ์"

จาก Cassava
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
บรรทัดที่ 38: บรรทัดที่ 38:
* '''สียอดอ่อน''' สามารถสังเกตได้จากสีของยอดอ่อนมันสำปะหลังที่ยังไม่คลี่ออกมา ได้แก่
* '''สียอดอ่อน''' สามารถสังเกตได้จากสีของยอดอ่อนมันสำปะหลังที่ยังไม่คลี่ออกมา ได้แก่


# สีเขียว เช่น พันธุ์ห้านาที ห้วยบง 90 ระยอง 90 ระยอง 3 ระยอง 7 ห้วยบง 80 และระยอง 9 เป็นต้น
# สีเขียว เช่น พันธุ์[[ห้านาที]] [[ห้วยบง 90]] [[ระยอง 90]] [[ระยอง 3]] [[ระยอง 7]] [[ห้วยบง 80]] และ[[ระยอง 9]] เป็นต้น
# สีม่วงอมเขียว เช่น พันธุ์ระยอง 11 และระยอง 60 เป็นต้น
# สีม่วงอมเขียว เช่น พันธุ์[[ระยอง 11]] และ[[ระยอง 60]] เป็นต้น
# สีม่วงอมน้ำตาล เช่น พันธุ์ระยอง 86-13 ระยอง 5 เป็นต้น
# สีม่วงอมน้ำตาล เช่น พันธุ์[[ระยอง 86-13]] [[ระยอง 5]] เป็นต้น
# สีม่วง เช่น พันธุ์ระยอง 72 ระยอง 1 เกษตรศาสตร์ 50 เกษตรศาสตร์ 72 และห้วยบง 60 เป็นต้น
# สีม่วง เช่น พันธุ์[[ระยอง 72]] [[ระยอง 1]] [[เกษตรศาสตร์ 50]] [[เกษตรศาสตร์ 72]] และ[[ห้วยบง 60]] เป็นต้น


* '''ขนที่ยอดอ่อน''' มันสำปะหลังพันธุ์ที่ไม่มีขนอ่อนมักจะมีลักษณะเงา มัน ส่วนมันสำปะหลังที่มีขนอ่อนมักจะมีลักษณะด้าน เมื่อสัมผัสจะนุ่มมือ ได้แก่
* '''ขนที่ยอดอ่อน''' มันสำปะหลังพันธุ์ที่ไม่มีขนอ่อนมักจะมีลักษณะเงา มัน ส่วนมันสำปะหลังที่มีขนอ่อนมักจะมีลักษณะด้าน เมื่อสัมผัสจะนุ่มมือ ได้แก่


# ยอดอ่อนมีขน เช่น พันธุ์ระยอง 60 ระยอง 3 และระยอง 1 เป็นต้น
# ยอดอ่อนมีขน เช่น พันธุ์[[ระยอง 60]] [[ระยอง 3]] และ[[ระยอง 1]] เป็นต้น
# ยอดอ่อนไม่มีขน เช่น พันธุ์ห้านาที ห้วยบง 90 ระยอง 90 ระยอง 7 ห้วยบง 80 ระยอง 9 ระยอง 11 ระยอง 86-13 ระยอง 5 ระยอง 72 เกษตรศาสตร์ 50 เกษตรศาสตร์ 72 และ ห้วยบง 60 เป็นต้น
# ยอดอ่อนไม่มีขน เช่น พันธุ์[[ห้านาที]] [[ห้วยบง 90]] [[ระยอง 90]] [[ระยอง 7]] [[ห้วยบง 80]] [[ระยอง 9]] [[ระยอง 11]] [[ระยอง 86-13]] [[ระยอง 5]] [[ระยอง 72]] [[เกษตรศาสตร์ 50]] [[เกษตรศาสตร์ 72]] และ [[ห้วยบง 60]] เป็นต้น


* '''สีก้านใบ''' สีของก้านใบ ดูที่ก้านใบในตำแหน่งใบที่ 5 จากใบยอดที่คลี่เต็มที่แล้ว 5 ใบจากยอด เมื่ออายุประมาณ 3 – 6 เดือนหลังปลูก ได้แก่
* '''สีก้านใบ''' สีของก้านใบ ดูที่ก้านใบในตำแหน่งใบที่ 5 จากใบยอดที่คลี่เต็มที่แล้ว 5 ใบจากยอด เมื่ออายุประมาณ 3 – 6 เดือนหลังปลูก ได้แก่


# สีเขียวอ่อน เช่น พันธุ์ระยอง 90 เป็นต้น
# สีเขียวอ่อน เช่น พันธุ์[[ระยอง 90]] เป็นต้น
# สีเขียวอ่อนปนแดง เช่น พันธุ์ระยอง 3 เป็นต้น
# สีเขียวอ่อนปนแดง เช่น พันธุ์[[ระยอง 3]] เป็นต้น
# สีเขียวอมชมพู เช่น พันธุ์ระยอง 7 และระยอง 9 เป็นต้น
# สีเขียวอมชมพู เช่น พันธุ์[[ระยอง 7]] และ[[ระยอง 9]] เป็นต้น
# สีเขียวอมแดง เช่น พันธุ์ระยอง 1 ระยอง 60 ระยอง 11 ระยอง 86-13 ห้วยบง 90 และห้วยบง 80 เป็นต้น
# สีเขียวอมแดง เช่น พันธุ์[[ระยอง 1]] [[ระยอง 60]] [[ระยอง 11]] [[ระยอง 86-13]] [[ห้วยบง 90]] และ[[ห้วยบง 80]] เป็นต้น
# สีแดงเข้ม เช่น พันธุ์ห้านาที ระยอง 5 และระยอง 72 เป็นต้น
# สีแดงเข้ม เช่น พันธุ์[[ห้านาที]] [[ระยอง 5]] และ[[ระยอง 72]] เป็นต้น
# สีเขียวอมม่วง เช่น พันธุ์เกษตรศาสตร์ 72 เกษตรศาสตร์ 50 และห้วยบง 60 เป็นต้น
# สีเขียวอมม่วง เช่น พันธุ์[[เกษตรศาสตร์ 72]] [[เกษตรศาสตร์ 50]] และ[[ห้วยบง 60]] เป็นต้น


* '''รูปร่างของแฉกที่อยู่กลางใบ''' ใบมันสำปะหลังเป็นแบบใบเดี่ยว แผ่นใบเว้าเป็นแฉก มีรูปร่างและจำนวนแฉกแตกต่างกันไปตามพันธุ์ โดยปกติมี 3 – 9 แฉก ยาวประมาณ 4 – 20 เซนติเมตร                กว้างประมาณ 1 – 6 เซนติเมตร รูปทรงของแฉกแตกต่างกัน เช่น เรียวยาว สั้นป้อม สังเกตุเมื่ออายุประมาณ 3 – 4 เดือนหลังปลูก โดยดูในตำแหน่งใบที่ 5 จากใบยอดที่คลี่เต็มที่ ได้แก่
* '''รูปร่างของแฉกที่อยู่กลางใบ''' ใบมันสำปะหลังเป็นแบบใบเดี่ยว แผ่นใบเว้าเป็นแฉก มีรูปร่างและจำนวนแฉกแตกต่างกันไปตามพันธุ์ โดยปกติมี 3 – 9 แฉก ยาวประมาณ 4 – 20 เซนติเมตร                กว้างประมาณ 1 – 6 เซนติเมตร รูปทรงของแฉกแตกต่างกัน เช่น เรียวยาว สั้นป้อม สังเกตุเมื่ออายุประมาณ 3 – 4 เดือนหลังปลูก โดยดูในตำแหน่งใบที่ 5 จากใบยอดที่คลี่เต็มที่ ได้แก่
บรรทัดที่ 61: บรรทัดที่ 61:
# รูปแถบ (linear)
# รูปแถบ (linear)
# รูปรี (elliptic)
# รูปรี (elliptic)
# รูปใบหอก (lanceolate) เช่น พันธุ์ห้านาที ระยอง 1 ระยอง 90 ระยอง 5 ระยอง 7 ระยอง 9 ระยอง 72 ห้วยบง 60 ห้วยบง 80 ห้วยบง 90 เกษตรศาสตร์ 50 เกษตรศาสตร์ 72                ระยอง 60 และระยอง 11 เป็นต้น
# รูปใบหอก (lanceolate) เช่น พันธุ์[[ห้านาที]] [[ระยอง 1]] [[ระยอง 90]] [[ระยอง 5]] [[ระยอง 7]] [[ระยอง 9]] [[ระยอง 72]] [[ห้วยบง 60]] [[ห้วยบง 80]] [[ห้วยบง 90]] [[เกษตรศาสตร์ 50]] [[เกษตรศาสตร์ 72]] [[ระยอง 60]] และ[[ระยอง 11]] เป็นต้น
# รูปใบหอกกลับ (oblanceolate) เช่น ระยอง 86-13 เป็นต้น
# รูปใบหอกกลับ (oblanceolate) เช่น [[ระยอง 86-13]] เป็นต้น
# รูปไวโอลิน (pandurate)
# รูปไวโอลิน (pandurate)



รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:34, 25 สิงหาคม 2564

มันสำปะหลัง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Manihot esculenta (L.) Crantz) เป็นพืชหัวชนิดหนึ่ง มีชื่อเรียกทั่วไปในภาษาอังกฤษว่า แคสซาวา (Cassava) หรือทาปิโอก้า (Tapioca) ประเทศแถบแอฟริกาเรียกชื่อภาษาฝรั่งเศสว่า แมนิออค (Manioc) มีถิ่นกำเนิดในอเมริกาใต้ ซึ่งมีการปลูกมันสำปะหลังมา 3,000 ถึง 7,000 ปีต่อมาได้ขยายไปสู่แหล่งอื่นๆ สำหรับประเทศไทยนั้นไม่มีหลักฐานที่แน่ชัดว่ามีการนำมันสำปะหลังเข้ามาปลูกเมื่อใด แต่คาดว่ามีการนำมันสำปะหลังมาจากประเทศมาเลเซียเมื่อปี พ.ศ.2329 โดยมีชื่อเรียกในระยะต่อมาว่า มันไม้และมันสำโรง [1]

มันสำปะหลัง
อาณาจักร: Plantae
หมวด: Magnoliophyta
ชั้น: Magnoliopsida
อันดับ: Malpighiales
วงศ์: Euphorbiaceae
วงศ์ย่อย: Crotonoideae
เผ่า: Manihoteae
สกุล: Manihot
สปีชีส์: M. esculenta

มันสำปะหลังมีทั้งชนิดหวาน (Sweet Type) มีปริมาณกรดไฮโดรไซยานิคต่ำ ใช้เพื่อการบริโภค เช่น พันธุ์ห้านาที และมันสำปะหลังชนิดขม (Bitter Type) มีกรดไฮโดรไซยานิคสูง เป็นพิษและมีรสขม ไม่เหมาะสำหรับการบริโภค แต่เหมาะใช้ในอุตสาหกรรมผลิตแป้งและอาหารสัตว์ เช่น พันธุ์ระยอง 90 ระยอง 3 ระยอง 7 ระยอง 9 ระยอง 60 ระยอง 5 ระยอง 11 ระยอง 72 ระยอง 1 ห้วยบง 80 ห้วยบง 60 เกษตรศาสตร์ 50 เกษตรศาสตร์ 72 ระยอง 86-13 และห้วยบง 90 เป็นต้น   

หน่วยงานที่มีบทบาทในการพัฒนาพันธุ์มันสำปะหลัง ได้แก่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และกรมวิชาการเกษตร ได้จำแนกพันธุ์มันสำปะหลังในประเทศไทย ตามลักษณะของสี รูปร่าง ลักษณะทรงต้น ใบ และ การแตกกิ่ง โดยลักษณะเด่นที่สามารถใช้จำแนกพันธุ์ในปัจจุบัน มีดังนี้

ลักษณะเด่นที่ใช้จำแนกพันธุ์

  • สียอดอ่อน สามารถสังเกตได้จากสีของยอดอ่อนมันสำปะหลังที่ยังไม่คลี่ออกมา ได้แก่
  1. สีเขียว เช่น พันธุ์ห้านาที ห้วยบง 90 ระยอง 90 ระยอง 3 ระยอง 7 ห้วยบง 80 และระยอง 9 เป็นต้น
  2. สีม่วงอมเขียว เช่น พันธุ์ระยอง 11 และระยอง 60 เป็นต้น
  3. สีม่วงอมน้ำตาล เช่น พันธุ์ระยอง 86-13 ระยอง 5 เป็นต้น
  4. สีม่วง เช่น พันธุ์ระยอง 72 ระยอง 1 เกษตรศาสตร์ 50 เกษตรศาสตร์ 72 และห้วยบง 60 เป็นต้น
  • ขนที่ยอดอ่อน มันสำปะหลังพันธุ์ที่ไม่มีขนอ่อนมักจะมีลักษณะเงา มัน ส่วนมันสำปะหลังที่มีขนอ่อนมักจะมีลักษณะด้าน เมื่อสัมผัสจะนุ่มมือ ได้แก่
  1. ยอดอ่อนมีขน เช่น พันธุ์ระยอง 60 ระยอง 3 และระยอง 1 เป็นต้น
  2. ยอดอ่อนไม่มีขน เช่น พันธุ์ห้านาที ห้วยบง 90 ระยอง 90 ระยอง 7 ห้วยบง 80 ระยอง 9 ระยอง 11 ระยอง 86-13 ระยอง 5 ระยอง 72 เกษตรศาสตร์ 50 เกษตรศาสตร์ 72 และ ห้วยบง 60 เป็นต้น
  • สีก้านใบ สีของก้านใบ ดูที่ก้านใบในตำแหน่งใบที่ 5 จากใบยอดที่คลี่เต็มที่แล้ว 5 ใบจากยอด เมื่ออายุประมาณ 3 – 6 เดือนหลังปลูก ได้แก่
  1. สีเขียวอ่อน เช่น พันธุ์ระยอง 90 เป็นต้น
  2. สีเขียวอ่อนปนแดง เช่น พันธุ์ระยอง 3 เป็นต้น
  3. สีเขียวอมชมพู เช่น พันธุ์ระยอง 7 และระยอง 9 เป็นต้น
  4. สีเขียวอมแดง เช่น พันธุ์ระยอง 1 ระยอง 60 ระยอง 11 ระยอง 86-13 ห้วยบง 90 และห้วยบง 80 เป็นต้น
  5. สีแดงเข้ม เช่น พันธุ์ห้านาที ระยอง 5 และระยอง 72 เป็นต้น
  6. สีเขียวอมม่วง เช่น พันธุ์เกษตรศาสตร์ 72 เกษตรศาสตร์ 50 และห้วยบง 60 เป็นต้น
  • รูปร่างของแฉกที่อยู่กลางใบ ใบมันสำปะหลังเป็นแบบใบเดี่ยว แผ่นใบเว้าเป็นแฉก มีรูปร่างและจำนวนแฉกแตกต่างกันไปตามพันธุ์ โดยปกติมี 3 – 9 แฉก ยาวประมาณ 4 – 20 เซนติเมตร กว้างประมาณ 1 – 6 เซนติเมตร รูปทรงของแฉกแตกต่างกัน เช่น เรียวยาว สั้นป้อม สังเกตุเมื่ออายุประมาณ 3 – 4 เดือนหลังปลูก โดยดูในตำแหน่งใบที่ 5 จากใบยอดที่คลี่เต็มที่ ได้แก่
  1. รูปแถบ (linear)
  2. รูปรี (elliptic)
  3. รูปใบหอก (lanceolate) เช่น พันธุ์ห้านาที ระยอง 1 ระยอง 90 ระยอง 5 ระยอง 7 ระยอง 9 ระยอง 72 ห้วยบง 60 ห้วยบง 80 ห้วยบง 90 เกษตรศาสตร์ 50 เกษตรศาสตร์ 72 ระยอง 60 และระยอง 11 เป็นต้น
  4. รูปใบหอกกลับ (oblanceolate) เช่น ระยอง 86-13 เป็นต้น
  5. รูปไวโอลิน (pandurate)
  • สีลำต้น ได้แก่
  1. สีเขียวเงิน เช่น พันธุ์ระยอง 1 ระยอง 72 ระยอง 11 ระยอง 86-13 เกษตรศาสตร์ 50     เกษตรศาสตร์ 72 ห้วยบง 60 ห้วยบง 90 และห้วยบง 80 เป็นต้น
  2. สีเขียวอมน้ำตาล เช่น พันธุ์ระยอง 5 เป็นต้น
  3. สีน้ำตาลอมเหลือง เช่น พันธุ์ระยอง 9 เป็นต้น
  4. สีน้ำตาลอมส้ม เช่น พันธุ์ระยอง 90 เป็นต้น
  5. สีน้ำตาลอ่อน เช่น พันธุ์ ระยอง 3 ระยอง 7 และระยอง 60 เป็นต้น
  • ลักษณะหูใบ ส่วนของโคนก้านใบที่ติดกับลำต้นมีหูใบ (stipule) มีรูปร่าง ขนาด และสีเฉพาะแต่ละพันธุ์ เช่น พันธุ์ระยอง 72 หูใบมีสีแดงเข้มปลายหูใบงอนขึ้นคล้ายขนตา พันธุ์ระยอง 11 หูใบมีสีเขียวคาดสีแดง และพันธุ์ห้วยบง 60 หูใบมีสีเขียวยาว เป็นต้น
  • ลักษณะทรงต้นหรือการแตกกิ่ง บางพันธุ์ลำต้นเป็นต้นเดี่ยว ไม่มีการแตกกิ่ง บางพันธุ์มีการแตกกิ่งหลายระดับ โดยเท่าที่พบจะไม่เกิน 4 กิ่ง พันธุ์ที่มีการแตกกิ่งมากและแตกกิ่งหลายระดับจะมีลักษณะเป็นพุ่มเตี้ย พันธุ์ที่มีการแตกกิ่งน้อยจะสูง ได้แก่
  1. ทรงต้นแตกกิ่ง 0 – 1 ระดับ เช่น พันธุ์ห้านาที ระยอง 1 ระยอง 7 ระยอง 9 ระยอง 60 ระยอง 86-13 เกษตรศาสตร์ 72 ห้วยบง 90 และระยอง 72 เป็นต้น
  2. ทรงต้นแตกกิ่ง 1 – 3 ระดับ เช่น พันธุ์ระยอง 11 ระยอง 5 ห้วยบง 60 ห้วยบง 80 และเกษตรศาสตร์ 50 เป็นต้น
  3. ทรงต้นแตกกิ่ง 2 – 4 ระดับ เช่น พันธุ์ระยอง 3 และระยอง 90 เป็นต้น
  • สีเปลือกหัว เป็นลักษณะที่สังเกตได้ในระยะเก็บเกี่ยว ได้แก่
  1. สีขาวครีม เช่นพันธุ์ระยอง 7 และระยอง 72 เป็นต้น
  2. สีน้ำตาล เช่น พันธุ์ ระยอง 11  เป็นต้น
  3. สีน้ำตาลอ่อน เช่น พันธุ์ระยอง 1 ระยอง 3 ระยอง 5 ระยอง 9 ระยอง 60 ระยอง 86-13 เกษตรศาสตร์ 50 เกษตรศาสตร์ 72 ห้วยบง 60 ห้วยบง 90 และห้วยบง 80 เป็นต้น
  4. สีน้ำตาลเข้ม เช่น พันธุ์ห้านาที และระยอง 90 เป็นต้น
  • สีเนื้อหัว ได้แก่
  1. สีขาว เช่น พันธุ์ห้านาที ระยอง 1 ระยอง 3 ระยอง 5 ระยอง 7 ระยอง 72 ระยอง 90 ระยอง 9 ระยอง 11 ระยอง 86-13 เกษตรศาสตร์ 50 เกษตรศาสตร์ 72 ห้วยบง 60 ห้วยบง 90 และห้วยบง 80 เป็นต้น
  2. สีขาวครีม เช่น พันธุ์ระยอง 60 เป็นต้น

อ้างอิง

  1. มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. สืบค้นเมื่อ 5 มิถุนายน 2564. จาก https://www.tapiocathai.org/C.html