ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การจัดการแมลง"

จาก Cassava
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
ในอดีตปัญหาเกี่ยวกับแมลงศัตรูที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อผลผลิตมันสำปะหลังมีค่อนข้างน้อย เนื่องจากมันสำปะหลังเป็นพืชที่ปลูกง่าย ทนทานและปรับตัวได้ดี แต่ปัจจุบันมีการระบาดของเพลี้ยแป้งสีชมพู (เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง) ในมันสำปะหลังและกลายเป็นปัญหาที่สำคัญ โดยมีรายงานการระบาดเมื่อต้นปี 2551 และแพร่กระจายไปยังแหล่งปลูกมันสำปะหลังที่สำคัญ เช่น จังหวัดกำแพงเพชร ระยอง ชลบุรี สระแก้ว ปราจีนบุรี และนครราชสีมา สาเหตุสำคัญของการระบาดอย่างกว้างขว้างคือ การใช้ท่อนพันธุ์ที่มีเพลี้ยแป้งไปปลูกโดยไม่มีการจัดการท่อนพันธุ์ให้ปราศจากแมลงก่อน ทำให้ผลผลิตมันสำปะหลังในปี 2552 ที่คาดว่าจะมีถึง 27 ล้านตัน ลดลงเหลือประมาณ 19 ล้านตันเท่านั้น ซึ่งส่งผลกระทบต่อธุรกิจมันสำปะหลังเป็นอย่างมาก (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref>มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.</ref>
ในอดีตปัญหาเกี่ยวกับแมลงศัตรูที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อผลผลิตมันสำปะหลังมีค่อนข้างน้อย เนื่องจากมันสำปะหลังเป็นพืชที่ปลูกง่าย ทนทานและปรับตัวได้ดี แต่ปัจจุบันมีการระบาดของเพลี้ยแป้งสีชมพู (เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง) ในมันสำปะหลังและกลายเป็นปัญหาที่สำคัญ โดยมีรายงานการระบาดเมื่อต้นปี 2551 และแพร่กระจายไปยังแหล่งปลูกมันสำปะหลังที่สำคัญ เช่น จังหวัดกำแพงเพชร ระยอง ชลบุรี สระแก้ว ปราจีนบุรี และนครราชสีมา สาเหตุสำคัญของการระบาดอย่างกว้างขว้างคือ การใช้ท่อนพันธุ์ที่มีเพลี้ยแป้งไปปลูกโดยไม่มีการจัดการท่อนพันธุ์ให้ปราศจากแมลงก่อน ทำให้ผลผลิตมันสำปะหลังในปี 2552 ที่คาดว่าจะมีถึง 27 ล้านตัน ลดลงเหลือประมาณ 19 ล้านตันเท่านั้น ซึ่งส่งผลกระทบต่อธุรกิจมันสำปะหลังเป็นอย่างมาก (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref>มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.</ref>


# เพลี้ยแป้ง
# [[เพลี้ยแป้ง]]
# ไร
# [[ไร]]
# แมลงหวี่ขาว
# [[แมลงหวี่ขาว]]
# เพลี้ยหอย
# [[เพลี้ยหอย]]
# ปลวก
# [[ปลวก]]
# แมลงนูนหลวง
# [[แมลงนูนหลวง]]


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==


*
*

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:53, 24 สิงหาคม 2564

ในอดีตปัญหาเกี่ยวกับแมลงศัตรูที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อผลผลิตมันสำปะหลังมีค่อนข้างน้อย เนื่องจากมันสำปะหลังเป็นพืชที่ปลูกง่าย ทนทานและปรับตัวได้ดี แต่ปัจจุบันมีการระบาดของเพลี้ยแป้งสีชมพู (เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง) ในมันสำปะหลังและกลายเป็นปัญหาที่สำคัญ โดยมีรายงานการระบาดเมื่อต้นปี 2551 และแพร่กระจายไปยังแหล่งปลูกมันสำปะหลังที่สำคัญ เช่น จังหวัดกำแพงเพชร ระยอง ชลบุรี สระแก้ว ปราจีนบุรี และนครราชสีมา สาเหตุสำคัญของการระบาดอย่างกว้างขว้างคือ การใช้ท่อนพันธุ์ที่มีเพลี้ยแป้งไปปลูกโดยไม่มีการจัดการท่อนพันธุ์ให้ปราศจากแมลงก่อน ทำให้ผลผลิตมันสำปะหลังในปี 2552 ที่คาดว่าจะมีถึง 27 ล้านตัน ลดลงเหลือประมาณ 19 ล้านตันเท่านั้น ซึ่งส่งผลกระทบต่อธุรกิจมันสำปะหลังเป็นอย่างมาก (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)[1]

  1. เพลี้ยแป้ง
  2. ไร
  3. แมลงหวี่ขาว
  4. เพลี้ยหอย
  5. ปลวก
  6. แมลงนูนหลวง

อ้างอิง

  1. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.