ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การจำแนกและการจัดการวัชพืช"

จาก Cassava
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
 
(ไม่แสดง 7 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 1 คน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
วัชพืช (Weeds) เป็นอีกหนึ่งปัญหาที่สำคัญต่อพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง เนื่องจากมันสำปะหลังมีอายุการปลูกถึงเก็บเกี่ยวประมาณ 8-12 เดือน ดังนั้นระหว่างการเจริญเติบโตจนให้ผลผลิตที่ใช้ระยะเวลานานทำให้วัชพืชมีบทบาทสำคัญต่อการแก่งแย่งปัจจัยการเจริญเติบโต เช่น ธาตุอาหาร น้ำ แสงแดด และอากาศ เป็นต้น ของมันสำปะหลัง ส่งผลให้มันสำปะหลังมีผลผลิตที่ลดลง
วัชพืช (Weeds) เป็นอีกหนึ่งปัญหาที่สำคัญต่อพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง เนื่องจากมันสำปะหลังมีอายุการปลูกถึงเก็บเกี่ยวประมาณ 8-12 เดือน ดังนั้นระหว่างการเจริญเติบโตจนให้ผลผลิตที่ใช้ระยะเวลานานทำให้วัชพืชมีบทบาทสำคัญต่อการแก่งแย่งปัจจัยการเจริญเติบโต เช่น ธาตุอาหาร น้ำ แสงแดด และอากาศ เป็นต้น ของมันสำปะหลัง ส่งผลให้มันสำปะหลังมีผลผลิตที่ลดลง<ref>พรชัย เหลืองอาภาพงศ์ 2523 การป้องกันกำจัดวัชพืช ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 164 หน้า </ref>


== '''การจำแนกชนิดของวัชพืช (Weed classification)''' ==
== '''การจำแนกชนิดของวัชพืช (Weed classification)''' ==
วัชพืชมีจำนวนหลากหลายชนิดมากจึงสามารถจำแนกออกได้เป็นประเภทต่าง ๆ ได้หลายประเภท เช่น จำแนกตามลักษณะทางพฤกษศาสตร์ (botany) จำแนกสัณฐานวิทยา (morphology) ชีพจำแนกพจักร (life cycle) หรือจำแนกถิ่นที่อยู่อาศัย (habitat) แต่การจำแนกวัชพืชโดยสัณฐานวิทยา (morphology) ที่พบในแปลงปลูกมันสำปะหลังจะช่วยให้สามารถเลือกใช้วิธีการจัดการวัชพืชได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะในกรณีของการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดวัชพืช
วัชพืชมีจำนวนหลากหลายชนิดมากจึงสามารถจำแนกออกได้เป็นประเภทต่าง ๆ ได้หลายประเภท เช่น จำแนกตามลักษณะทางพฤกษศาสตร์ (botany) จำแนกสัณฐานวิทยา (morphology) ชีพจำแนกพจักร (life cycle) หรือจำแนกถิ่นที่อยู่อาศัย (habitat) แต่การจำแนกวัชพืชโดยสัณฐานวิทยา (morphology) ที่พบในแปลงปลูกมันสำปะหลังจะช่วยให้สามารถเลือกใช้วิธีการจัดการวัชพืชได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะในกรณีของการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดวัชพืช<ref>สุชาดา ศรีเพ็ญ. 2525. การจำแนกวัชพืช. วิทยาการวัชพืช เอกสารวิชาการของสมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย เล่ม 1 หน้า 11-13 </ref>


== '''การจำแนกชนิดของวัชพืชที่พบในแปลงปลูกมันสำปะหลัง''' ==
== '''การจำแนกชนิดของวัชพืชที่พบในแปลงปลูกมันสำปะหลัง''' ==
การจำแนกชนิดของวัชพืชที่พบในแปลงปลูกมันสำปะหลังจะจำแนกโดยทั่วไปจะใช้ลักษณะสัณฐานวิทยา (morphology) เนื่องจากจะทำให้สามารถทราบว่าวัชพืชที่พบในแปลงเป็นวัชพืชในกลุ่มใด เพื่อส่งผลสามารถเลือกใช้วิธีการจัดการวัชพืชได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพในกรณีของการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดวัชพืช ซึ่งการจำแนกวัชพืชที่ใช้ลักษณะสัณฐานวิทยาสามารถแบ่งได้ออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่
การจำแนกชนิดของวัชพืชที่พบในแปลงปลูกมันสำปะหลังจะจำแนกโดยทั่วไปจะใช้ลักษณะสัณฐานวิทยา (morphology) เนื่องจากจะทำให้สามารถทราบว่าวัชพืชที่พบในแปลงเป็นวัชพืชในกลุ่มใด เพื่อส่งผลสามารถเลือกใช้วิธีการจัดการวัชพืชได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพในกรณีของการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดวัชพืช ซึ่งการจำแนกวัชพืชที่ใช้ลักษณะสัณฐานวิทยาสามารถแบ่งได้ออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่


# วัชพืชใบกว้าง (broadleaved weeds) เป็นวัชพืชที่มีใบเลี้ยงคู่ (dicotyledon) มีลักษณะใบแผ่นกว้างเมื่อเทียบกับความยาวใบ เส้นใบจัดเรียงเป็นร่างแห หรือตาข่าย ลําต้นมีกิ่งก้านสาขามากมาย ส่วนใหญ่ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด การเจริญเติบโตของวัชพืชใบกว้างส่วนใหญ่จะอยู่ที่ปลายยอดหรือซอกกิ่ง
# '''วัชพืชใบกว้าง (broadleaved weeds)''' เป็นวัชพืชที่มีใบเลี้ยงคู่ (dicotyledon) มีลักษณะใบแผ่นกว้างเมื่อเทียบกับความยาวใบ เส้นใบจัดเรียงเป็นร่างแห หรือตาข่าย ลําต้นมีกิ่งก้านสาขามากมาย ส่วนใหญ่ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด การเจริญเติบโตของวัชพืชใบกว้างส่วนใหญ่จะอยู่ที่ปลายยอดหรือซอกกิ่ง
# วัชพืชใบแคบ (narrowleaved weeds) เป็นวัชพืชใบเลี้ยงเดี่ยว (monocotyledon) มีลักษณะใบแคบเมื่อเทียบกับความยาวใบ เส้นใบขนานกับก้านใบส่วนใหญ่ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด ส่วนของราก หรือส่วนลำต้น วัชพืชใบแคบจำแนกได้ 2 จำพวก คือ จำพวกหญ้า (grasses) ลำต้นมีลักษณะกลมและมีข้อ (node) และปล้อง (internode) มีจุดเจริญอยู่ใต้ดินและตามข้อ และจำพวกกก (sedges) จะมีลักษณะที่สำคัญที่แตกต่างจากจำพวกหญ้าคือ ลำต้นไม่มีข้อและปล้องและลำต้นมักเป็นเหลี่ยม โดยมากมักมีชื่อเรียกขึ้นต้นว่ากก
# '''วัชพืชใบแคบ (narrowleaved weeds)''' เป็นวัชพืชใบเลี้ยงเดี่ยว (monocotyledon) มีลักษณะใบแคบเมื่อเทียบกับความยาวใบ เส้นใบขนานกับก้านใบส่วนใหญ่ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด ส่วนของราก หรือส่วนลำต้น วัชพืชใบแคบจำแนกได้ 2 จำพวก คือ จำพวกหญ้า (grasses) ลำต้นมีลักษณะกลมและมีข้อ (node) และปล้อง (internode) มีจุดเจริญอยู่ใต้ดินและตามข้อ และจำพวกกก (sedges) จะมีลักษณะที่สำคัญที่แตกต่างจากจำพวกหญ้าคือ ลำต้นไม่มีข้อและปล้องและลำต้นมักเป็นเหลี่ยม โดยมากมักมีชื่อเรียกขึ้นต้นว่ากก


== '''วัชพืชที่พบในแปลงปลูกมันสำปะหลัง''' ==
== '''วัชพืชที่พบในแปลงปลูกมันสำปะหลัง''' ==
บรรทัดที่ 61: บรรทัดที่ 61:
'''ชื่อสามัญ:''' Tall yellow-eyed grass
'''ชื่อสามัญ:''' Tall yellow-eyed grass


'''ประเภท/ชีพจักร:''' ใบแคบ/อายุข้ามปี
'''ประเภท/ชีพจักร:''' ใบแคบ/อายุข้ามปี[[ไฟล์:5.png|thumb|ภาพ แสดงลักษณะของต้นหญ้าแพรก]]'''ลักษณะ:''' เป็นวัชพืชอายุข้ามปีมีลักษณะลำต้นตั้งตรงสูงประมาณ 30 เซนติเมตร เจริญเติบโตเป็นกอ ใบแคบ เรียวยาว ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ คล้ายใบหญ้าแต่อ่อนกว่า ที่ส่วนโคนของใบจะแผ่ออกเป็นกาบหุ้มลำต้น  ดอก ออกเป็นช่อเดี่ยว ๆ มีกลีบประดับสีน้ำตาลซ้อนกันแน่นห่อหุ้มดอก ดอกมีสีเหลืองสด มีกลีบดอก 3 กลีบ กลีบดอกจะเหี่ยวง่าย ทยอยบานจากโคนช่อดอกไปทางปลายช่อดอก ออกดอกในฤดูหนาว ผลเป็นชนิดแคปซูล แบ่งเป็น 3 ซีก ถูกห่อหุ้มด้วยกลีบดอกที่แห้งติดอยู่
 
'''ลักษณะ:''' เป็นวัชพืชอายุข้ามปีมีลักษณะลำต้นตั้งตรงสูงประมาณ 30 เซนติเมตร เจริญเติบโตเป็นกอ ใบแคบ เรียวยาว ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ คล้ายใบหญ้าแต่อ่อนกว่า ที่ส่วนโคนของใบจะแผ่ออกเป็นกาบหุ้มลำต้น  ดอก ออกเป็นช่อเดี่ยว ๆ มีกลีบประดับสีน้ำตาลซ้อนกันแน่นห่อหุ้มดอก ดอกมีสีเหลืองสด มีกลีบดอก 3 กลีบ กลีบดอกจะเหี่ยวง่าย ทยอยบานจากโคนช่อดอกไปทางปลายช่อดอก ออกดอกในฤดูหนาว ผลเป็นชนิดแคปซูล แบ่งเป็น 3 ซีก ถูกห่อหุ้มด้วยกลีบดอกที่แห้งติดอยู่
[[ไฟล์:5.png|thumb|ภาพ แสดงลักษณะของต้นหญ้าแพรก]]




บรรทัดที่ 96: บรรทัดที่ 93:
'''ประเภท/ชีพจักร:''' ใบกว้าง/อายุข้ามปี
'''ประเภท/ชีพจักร:''' ใบกว้าง/อายุข้ามปี


'''ลักษณะ:''' เป็นวัชพืชอายุข้ามปีที่มีลักษณะลำต้นกลมเป็นเถาเลื้อยยาวหลายเมตร ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดและลำต้นทั้งลำต้นและใบเมื่อตัดแล้วจะมียางสีขาว ลำต้นกลวงลอยน้ำได้ จึงสามารถอยู่ได้ในสภาพระดับน้ำลึกได้
'''ลักษณะ:''' เป็นวัชพืชอายุข้ามปีที่มีลักษณะลำต้นกลมเป็นเถาเลื้อยยาวหลายเมตร ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดและลำต้นทั้งลำต้นและใบเมื่อตัดแล้วจะมียางสีขาว ลำต้นกลวงลอยน้ำได้ จึงสามารถอยู่ได้ในสภาพระดับน้ำลึกได้ 
 


                                                                                                         
=== '''มะระ'''                     ===
[[ไฟล์:8.png|thumb|ภาพ แสดงลักษณะของต้นผักบุ้ง]]
[[ไฟล์:8.png|thumb|ภาพ แสดงลักษณะของต้นผักบุ้ง]]
'''9. มะระ'''
{| class="wikitable"
|
|-
|
|
|}


'''ชื่อวิทยาศาสตร์:''' ''Momordica charantia'' L.
'''ชื่อวิทยาศาสตร์:''' ''Momordica charantia'' L.
บรรทัดที่ 137: บรรทัดที่ 105:
'''ประเภท/ชีพจักร:''' ใบกว้าง/อายุปีเดียว
'''ประเภท/ชีพจักร:''' ใบกว้าง/อายุปีเดียว


'''ลักษณะ:''' เป็นวัชพืชอายุปีเดียวที่มีลักษณะเป็นไมเลื้อย มีมือเกาะเปนเสนยาวออกตรงขามใบ ใบเปนใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปฝามือกวางและยาวประมาณ 4-7 เซนติเมตร ขอบใบเว้าเป็นแฉก ออกดอกเปนดอกเดี่ยวบริเวณซอกใบ มีกลีบดอกสีเหลืองรูประฆัง ผลเปนรูปรีหัวท้ายแหลมผิวขรุขระ
'''ลักษณะ:''' เป็นวัชพืชอายุปีเดียวที่มีลักษณะเป็นไม้เลื้อย มีมือเกาะเป็นเส้นยาวออกตรงข้ามใบ ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปฝามือกว้างและยาวประมาณ 4-7 เซนติเมตร ขอบใบเว้าเป็นแฉก ออกดอกเป็นดอกเดี่ยวบริเวณซอกใบ มีกลีบดอกสีเหลืองรูประฆัง ผลเป็นรูปรีหัวท้ายแหลมผิวขรุขระ
 
[[ไฟล์:9.png|thumb|ภาพ แสดงลักษณะของต้นมะระ]]
 
 
 
 
 
 
 
 
 
'''10. จิงจ้อเหลี่ยม'''
{| class="wikitable"
|
|
|
|
|-
|
| rowspan="2" |
|-
|
|
| rowspan="2" |
|-
|
|}
 
 
 
 
 
 
 
 
 




=== '''จิงจ้อเหลี่ยม''' ===
'''ชื่อวิทยาศาสตร์:''' ''Operculina turpethum'' (L.) S. Manso
'''ชื่อวิทยาศาสตร์:''' ''Operculina turpethum'' (L.) S. Manso


บรรทัดที่ 182: บรรทัดที่ 117:


'''ลักษณะ:''' เป็นวัชพืชอายุปีเดียวที่มีลักษณะเป็นไม้เถายาว 1–2 เมตร มีขนยาวหนาแน่นตามลำต้น แผ่นใบด้านล่าง ใบประดับ ใบประดับย่อย และกลีบเลี้ยงด้านนอก ใบรูปหัวใจ ออกดอกเป็นช่อกระจุกเป็นรูปแตร สีม่วงหรือชมพูแน่นบริเวณบนวงใบประดับ เมล็ดมีขนสั้นนุ่มยาว 3–4 มิลลิเมตร  
'''ลักษณะ:''' เป็นวัชพืชอายุปีเดียวที่มีลักษณะเป็นไม้เถายาว 1–2 เมตร มีขนยาวหนาแน่นตามลำต้น แผ่นใบด้านล่าง ใบประดับ ใบประดับย่อย และกลีบเลี้ยงด้านนอก ใบรูปหัวใจ ออกดอกเป็นช่อกระจุกเป็นรูปแตร สีม่วงหรือชมพูแน่นบริเวณบนวงใบประดับ เมล็ดมีขนสั้นนุ่มยาว 3–4 มิลลิเมตร  
[[ไฟล์:10.png|thumb|ภาพ แสดงลักษณะของต้นจิงจ้อเหลี่ยม]]




 
=== '''แตงโมป่า''' ===
 
 
 
 
 
 
 
 
 
'''11. แตงโมป่า'''
{| class="wikitable"
|
|
|
|
|-
|
|
|
|
|}
 
 
 
 
 
 
 
 
 
'''ชื่อวิทยาศาสตร์:''' ''Gymnopetalum integrifolim'' Kurz.
'''ชื่อวิทยาศาสตร์:''' ''Gymnopetalum integrifolim'' Kurz.


บรรทัดที่ 222: บรรทัดที่ 128:


'''ลักษณะ:''' เป็นวัชพืชอายุปีเดียวที่มีลักษณะเป็นไม้เถาเลื้อย ลำเถาอวบน้ำ และสากมีขนสีขาวสั้นตั้งตรงเกาะติดหนาแน่น ใบเป็นใบเดี่ยว การเกาะติดของใบบนกิ่งแบบเวียนและมีหนวดที่โคนก้านใบ ใบรูปไข่เกือบกลม 5 เหลี่ยม ปลายแหลม ขอบหยักบิดเป็นคลื่น ออกดอกเป็นดอกเดี่ยวบริเวณที่ซอกใบ ดอกสีขาวกลีบดอกส่วนโคนเชื่อมติดกันเป็นหลอดส่วนปลายแยกเป็นกลีบ 4 - 5 กลีบ ผลเป็นทรงกลมโต ผิวเรียบ ผลอ่อนสีเขียว มีริ้วสีขาวจาง ๆ ผลสุกนั้นจะมีสีแดงภายในมีเมล็ดจำนวนมาก เมล็ดทรงกลมรีแบนมีเยื่อหุ้มเมล็ดเป็นเมือกใสสีเขียวเข้มเกือบดำ เยื่อหุ้มเมล็ดจะมีสีเขียวเข้ม
'''ลักษณะ:''' เป็นวัชพืชอายุปีเดียวที่มีลักษณะเป็นไม้เถาเลื้อย ลำเถาอวบน้ำ และสากมีขนสีขาวสั้นตั้งตรงเกาะติดหนาแน่น ใบเป็นใบเดี่ยว การเกาะติดของใบบนกิ่งแบบเวียนและมีหนวดที่โคนก้านใบ ใบรูปไข่เกือบกลม 5 เหลี่ยม ปลายแหลม ขอบหยักบิดเป็นคลื่น ออกดอกเป็นดอกเดี่ยวบริเวณที่ซอกใบ ดอกสีขาวกลีบดอกส่วนโคนเชื่อมติดกันเป็นหลอดส่วนปลายแยกเป็นกลีบ 4 - 5 กลีบ ผลเป็นทรงกลมโต ผิวเรียบ ผลอ่อนสีเขียว มีริ้วสีขาวจาง ๆ ผลสุกนั้นจะมีสีแดงภายในมีเมล็ดจำนวนมาก เมล็ดทรงกลมรีแบนมีเยื่อหุ้มเมล็ดเป็นเมือกใสสีเขียวเข้มเกือบดำ เยื่อหุ้มเมล็ดจะมีสีเขียวเข้ม
[[ไฟล์:11.png|thumb|ภาพ แสดงลักษณะของต้นแตงโมป่ะ]]




 
=== '''พะดอเงียว''' ===
 
 
 
 
 
 
 
 
'''12. พะดอเงียว'''
 
{| class="wikitable"
|
|
|
|
|-
|
| rowspan="3" |
|-
|
|
|
|-
|
|}
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
'''ชื่อวิทยาศาสตร์:''' syn. ''Andropogon annul''atus Forssk.
'''ชื่อวิทยาศาสตร์:''' syn. ''Andropogon annul''atus Forssk.


บรรทัดที่ 268: บรรทัดที่ 139:


'''ลักษณะ:''' เป็นวัชพืชอายุข้ามปีมีลักษณะเป็นกอสูง 90 - 115 ใบเรียวยาวไปที่ปลายใบ หน้าใบมีขนละเอียดจำนวนมาก ส่วนหลังใบมีขนน้อยกว่าหน้าใบ ข้อต่อกาบใบมีเยื่อกันน้ำหรือลิ้นใบ (ligule) ลักษณะเป็นแผ่นสีขาวปลาย ช่อดอกมี 2 - 3 raceme เรียงตัวอยู่บนจุดเดียวกันคล้ายรูปนิ้วมือ (digitate) หรือ subdigitate แต่ละดอกย่อยยาวประมาณ 5 - 8 เซนติเมตร เปลือกหุ้มเมล็ดมีขนละเอียดสีขาวและมีหางยาวประมาณ 1.7 - 2.1 เซนติเมตร ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดและหน่อพันธุ์อายุน้อย ๆ
'''ลักษณะ:''' เป็นวัชพืชอายุข้ามปีมีลักษณะเป็นกอสูง 90 - 115 ใบเรียวยาวไปที่ปลายใบ หน้าใบมีขนละเอียดจำนวนมาก ส่วนหลังใบมีขนน้อยกว่าหน้าใบ ข้อต่อกาบใบมีเยื่อกันน้ำหรือลิ้นใบ (ligule) ลักษณะเป็นแผ่นสีขาวปลาย ช่อดอกมี 2 - 3 raceme เรียงตัวอยู่บนจุดเดียวกันคล้ายรูปนิ้วมือ (digitate) หรือ subdigitate แต่ละดอกย่อยยาวประมาณ 5 - 8 เซนติเมตร เปลือกหุ้มเมล็ดมีขนละเอียดสีขาวและมีหางยาวประมาณ 1.7 - 2.1 เซนติเมตร ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดและหน่อพันธุ์อายุน้อย ๆ
[[ไฟล์:12.png|thumb|ภาพ แสดงลักษณะของต้นพะดอเงียว]]




 
=== '''หนาดดอย''' ===
 
 
 
 
 
 
'''13. หนาดดอย'''
{| class="wikitable"
|
|-
|
|
|}
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
'''ชื่อวิทยาศาสตร์:''' ''Laggera pterodonta'' (DC.) Sch.Bip. ex Oliv.
'''ชื่อวิทยาศาสตร์:''' ''Laggera pterodonta'' (DC.) Sch.Bip. ex Oliv.


บรรทัดที่ 304: บรรทัดที่ 150:


'''ลักษณะ:''' เป็นวัชพืชอายุปีเดียวมีลักษณะลำต้นตั้งตรงความสูงของต้นได้ถึง 2 เมตร แตกกิ่งก้านเป็นสันสี่เหลี่ยมแผ่เป็นปีกบาง ๆ สีเขียว มีขนละเอียด ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ลักษณะของใบเป็นรูปไข่กลับแกมรูปขอบขนานถึงรูปไข่กลับแผ่นใบมีขนละเอียดทั้งสองด้าน หลังใบเป็นสีเขียวหม่นถึงสีเขียวเข้ม ส่วนท้องใบเป็นสีเขียว ออกดอกเป็นช่อกระจุกแน่นแยกแขนงหรือเชิงหลั่นบริเวณซอกใบ มีชั้นใบประดับ กลีบดอกเป็นสีม่วงเข้ม เชื่อมติดกันเป็นหลอดยาว ผลเป็นรูปเส้นยาว ขอบเป็นสัน ไม่แตก และมีขนละเอียด
'''ลักษณะ:''' เป็นวัชพืชอายุปีเดียวมีลักษณะลำต้นตั้งตรงความสูงของต้นได้ถึง 2 เมตร แตกกิ่งก้านเป็นสันสี่เหลี่ยมแผ่เป็นปีกบาง ๆ สีเขียว มีขนละเอียด ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ลักษณะของใบเป็นรูปไข่กลับแกมรูปขอบขนานถึงรูปไข่กลับแผ่นใบมีขนละเอียดทั้งสองด้าน หลังใบเป็นสีเขียวหม่นถึงสีเขียวเข้ม ส่วนท้องใบเป็นสีเขียว ออกดอกเป็นช่อกระจุกแน่นแยกแขนงหรือเชิงหลั่นบริเวณซอกใบ มีชั้นใบประดับ กลีบดอกเป็นสีม่วงเข้ม เชื่อมติดกันเป็นหลอดยาว ผลเป็นรูปเส้นยาว ขอบเป็นสัน ไม่แตก และมีขนละเอียด
[[ไฟล์:13.png|thumb|ภาพ แสดงลักษณะของต้นหนาดดอย]]




 
=== '''สาบแล้งสาบกา''' ===
 
 
 
 
 
'''14. สาบแล้งสาบกา'''
{| class="wikitable"
|
|-
|
|
|}
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
'''ชื่อวิทยาศาสตร์:''' ''Ageratum conyzoides'' L.
'''ชื่อวิทยาศาสตร์:''' ''Ageratum conyzoides'' L.


บรรทัดที่ 338: บรรทัดที่ 162:
'''ลักษณะ:''' เป็นวัชพืชอายุปีเดียวมีลักษณะลำต้นเรียวยาวมีขนสีขาวสูง 24-30 เซนติเมตร ใบเดี่ยวเรียงสลับออกตรงข้ามคล้ายรูปไข่แกมรูปหัวใจผิวใบทั้ง 2 ด้านมีขน ขอบใบหยักมนหรือแหลม ดอกออกเป็นช่อกระจุกแน่นออกเป็นช่อเชิงหลั่นประกอบด้วย 5-15 ช่อย่อยผล ผลแห้ง เมล็ดรูปขนานสีดำยาว 1.5-1.7 มิลลิเมตร         
'''ลักษณะ:''' เป็นวัชพืชอายุปีเดียวมีลักษณะลำต้นเรียวยาวมีขนสีขาวสูง 24-30 เซนติเมตร ใบเดี่ยวเรียงสลับออกตรงข้ามคล้ายรูปไข่แกมรูปหัวใจผิวใบทั้ง 2 ด้านมีขน ขอบใบหยักมนหรือแหลม ดอกออกเป็นช่อกระจุกแน่นออกเป็นช่อเชิงหลั่นประกอบด้วย 5-15 ช่อย่อยผล ผลแห้ง เมล็ดรูปขนานสีดำยาว 1.5-1.7 มิลลิเมตร         


'''การจัดการวัชพืชในแปลงปลูกมันสำปะหลัง'''
[[ไฟล์:14.png|thumb|ภาพ แสดงลักษณะของต้นสาบแล้งสาบกา]]
 
การจัดการวัชพืช (weed management) เป็นการบูรณาการระหว่างการป้องกัน การควบคุมและการกำจัดมาใช้ร่วมกัน แต่จะใช้วิธีการมากกว่าหรือน้อยกว่ากันใดนั้นขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของปัญหา แต่โดยทั่วไปการจัดการจะเน้นไปที่การแก้ปัญหามากกว่าการป้องกัน ที่เรียกโดยทั่วไปว่า การควบคุมกำจัด ซึ่งการควบคุมกำจัดวัชพืชสามารถทำได้หลายวิธีโดยต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมและสามารถแบ่งออกได้


1. การป้องกันกำจัดโดยวิธีกล เป็นวิธีกำจัดวัชพืชโดยการใช้แรงงานคนถากหญ้า หรือใช้เครื่องจักรกลขนาดเล็กเข้ากำจัดวัชพืชในร่องขณะที่ต้นมันสำปะหลังยังเล็ก หรือช่วงมันสำปะหลังมีอายุ 4 เดือนแรกหลังปลูก
== '''การจัดการวัชพืชในแปลงปลูกมันสำปะหลัง''' ==
การจัดการวัชพืช (weed management) เป็นการบูรณาการระหว่างการป้องกัน การควบคุมและการกำจัดมาใช้ร่วมกัน แต่จะใช้วิธีการมากกว่าหรือน้อยกว่ากันใดนั้นขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของปัญหา แต่โดยทั่วไปการจัดการจะเน้นไปที่การแก้ปัญหามากกว่าการป้องกัน ที่เรียกโดยทั่วไปว่า การควบคุมกำจัด ซึ่งการควบคุมกำจัดวัชพืชสามารถทำได้หลายวิธีโดยต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมและสามารถแบ่งออกได้<ref>พรชัย เหลืองอาภาพงศ์ 2523 การป้องกันกำจัดวัชพืช ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 164 หน้า </ref>


2. การป้องกันกำจัดโดยการใช้สารป้องกันกำจัดวัชพืช เป็นวิธีกำจัดวัชพืชโดยการใช้สารกำจัดวัชพืช (herbicide) ซึ่งเป็นสารเคมีที่มีฤทธิ์ในการควบคุมกำจัดวัชพืชที่ส่งผลให้วัชพืชยับยั้งการเจริญเติบโตหรือตายสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดหลัก ๆ  
# '''การป้องกันกำจัดโดยวิธีกล''' เป็นวิธีกำจัดวัชพืชโดยการใช้แรงงานคนถากหญ้า หรือใช้เครื่องจักรกลขนาดเล็กเข้ากำจัดวัชพืชในร่องขณะที่ต้นมันสำปะหลังยังเล็ก หรือช่วงมันสำปะหลังมีอายุ 4 เดือนแรกหลังปลูก
# '''การป้องกันกำจัดโดยการใช้สารป้องกันกำจัดวัชพืช''' เป็นวิธีกำจัดวัชพืชโดยการใช้สารกำจัดวัชพืช (herbicide) ซึ่งเป็นสารเคมีที่มีฤทธิ์ในการควบคุมกำจัดวัชพืชที่ส่งผลให้วัชพืชยับยั้งการเจริญเติบโตหรือตายสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดหลัก ๆ


2.1 แบ่งตามขอบเขตของชนิดพืชที่ควบคุม
=== แบ่งตามขอบเขตของชนิดพืชที่ควบคุม ===


2.1.1 ประเภทเลือกทำลาย (selective herbicides) หมายถึง สารเคมีที่มีฤทธิ์ในการควบคุมพืชบางชนิด แต่ไม่มีผลหรือมีผลน้อยกับพืชอีกบางชนิด สามารถควบคุมกำจัดวัชพืชได้บางชนิด โดยไม่เป็นอันตรายหรือเป็นอันตรายเพียงเล็กน้อยต่อต้นมันสำปะหลัง
# '''ประเภทเลือกทำลาย (selective herbicides)''' หมายถึง สารเคมีที่มีฤทธิ์ในการควบคุมพืชบางชนิด แต่ไม่มีผลหรือมีผลน้อยกับพืชอีกบางชนิด สามารถควบคุมกำจัดวัชพืชได้บางชนิด โดยไม่เป็นอันตรายหรือเป็นอันตรายเพียงเล็กน้อยต่อต้นมันสำปะหลัง
# '''ประเภทไม่เลือกทำลาย (nonselective herbicides)''' หมายถึง สารเคมีที่มีฤทธิ์ในการควบคุมกำจัดพืชหรือวัชพืชทุกชนิด หากฉีดพ่นในการปลูกมันสำปะหลังต้องระมัดระวังอันตรายที่จะส่งผลต่อความเสียหายได้


2.1.2 ประเภทไม่เลือกทำลาย (nonselective herbicides) หมายถึง สารเคมีที่มีฤทธิ์ในการควบคุมกำจัดพืชหรือวัชพืชทุกชนิด หากฉีดพ่นในการปลูกมันสำปะหลังต้องระมัดระวังอันตรายที่จะส่งผลต่อความเสียหายได้
=== แบ่งตามลักษณะการใช้กับพืช<ref>อัมพร สุวรรณเมฆ มปป. สิ่งที่ต้องพิจารณาบางประการในการใช้สารเคมีกำจัดวัชพืช เอกสารโรเนียว ภาควิชาพืชไร่นา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 7 หน้า </ref> ===


2.2 แบ่งตามลักษณะการใช้กับพืช
# '''ประเภทใช้ทางใบ (foliar application)''' หมายถึง สารกำจัดวัชพืชที่เข้าสู่พืชทางใบหรือยอดอ่อน ซึ่งสามารถแบ่งย่อยได้อีก คือ 1) ประเภทสัมผัสตาย (contact herbicides) คือ สารกำจัดวัชพืชที่มีความสามารถทำลายพืชได้เฉพาะส่วนที่สารไปสัมผัสเท่านั้นโดยไม่มีการเคลื่อนย้ายของสารไปสู่ส่วนอื่น ๆ ของพืช 2) ประเภทดูดซึม (systemic หรือ translocated herbicides) คือ สารกำจัดวัชพืชที่เมื่อเข้าสู่พืชแล้วสามารถเคลื่อนย้ายไปสู่ส่วนอื่นของพืชได้ โดยจะเคลื่อนย้ายไปตามท่ออาหาร (phloem) เป็นส่วนใหญ่ และจะแสดงผลในการทำลายในจุดต่าง ๆ ที่สารประเภทนี้เคลื่อนย้ายไปถึง
#'''ประเภทใช้ทางดิน (soil application)''' หมายถึง สารกำจัดวัชพืชที่เข้าสู่พืชทางรากหรือส่วนอื่นๆ ของพืชที่อยู่ใต้ดิน ซึ่งรวมถึงใบเลี้ยงหรือยอดอ่อนก่อนจะโผล่พ้นพื้นผิวดิน มีผลทำให้ส่วนขยายพันธุ์ของพืช ซึ่งเริ่มจะงอกหรือกำลังงอกได้รับอันตราย สารกำจัดวัชพืชประเภทใช้ทางดินมักจะมีผลตกค้างในดิน (residue) สารบางชนิดอยู่ในดินได้นานเป็นปี ขึ้นกับชนิดและความเข้มข้นของสาร และสภาพแวดล้อม เช่น ความชื้นและชนิดของดิน


2.2.1 ประเภทใช้ทางใบ (foliar application) หมายถึง สารกำจัดวัชพืชที่เข้าสู่พืชทางใบหรือยอดอ่อน ซึ่งสามารถแบ่งย่อยได้อีก คือ 1) ประเภทสัมผัสตาย (contact herbicides) คือ สารกำจัดวัชพืชที่มีความสามารถทำลายพืชได้เฉพาะส่วนที่สารไปสัมผัสเท่านั้นโดยไม่มีการเคลื่อนย้ายของสารไปสู่ส่วนอื่น ๆ ของพืช 2) ประเภทดูดซึม (systemic หรือ translocated herbicides) คือ สารกำจัดวัชพืชที่เมื่อเข้าสู่พืชแล้วสามารถเคลื่อนย้ายไปสู่ส่วนอื่นของพืชได้ โดยจะเคลื่อนย้ายไปตามท่ออาหาร (phloem) เป็นส่วนใหญ่ และจะแสดงผลในการทำลายในจุดต่าง ๆ ที่สารประเภทนี้เคลื่อนย้ายไปถึง
== อ้างอิง ==


2.2.2 ประเภทใช้ทางดิน (soil application) หมายถึง สารกำจัดวัชพืชที่เข้าสู่พืชทางรากหรือส่วนอื่นๆ ของพืชที่อยู่ใต้ดิน ซึ่งรวมถึงใบเลี้ยงหรือยอดอ่อนก่อนจะโผล่พ้นพื้นผิวดิน มีผลทำให้ส่วนขยายพันธุ์ของพืช ซึ่งเริ่มจะงอกหรือกำลังงอกได้รับอันตราย สารกำจัดวัชพืชประเภทใช้ทางดินมักจะมีผลตกค้างในดิน (residue) สารบางชนิดอยู่ในดินได้นานเป็นปี ขึ้นกับชนิดและความเข้มข้นของสาร และสภาพแวดล้อม เช่น ความชื้นและชนิดของดิน
*

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 07:26, 22 พฤศจิกายน 2564

วัชพืช (Weeds) เป็นอีกหนึ่งปัญหาที่สำคัญต่อพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง เนื่องจากมันสำปะหลังมีอายุการปลูกถึงเก็บเกี่ยวประมาณ 8-12 เดือน ดังนั้นระหว่างการเจริญเติบโตจนให้ผลผลิตที่ใช้ระยะเวลานานทำให้วัชพืชมีบทบาทสำคัญต่อการแก่งแย่งปัจจัยการเจริญเติบโต เช่น ธาตุอาหาร น้ำ แสงแดด และอากาศ เป็นต้น ของมันสำปะหลัง ส่งผลให้มันสำปะหลังมีผลผลิตที่ลดลง[1]

การจำแนกชนิดของวัชพืช (Weed classification)[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

วัชพืชมีจำนวนหลากหลายชนิดมากจึงสามารถจำแนกออกได้เป็นประเภทต่าง ๆ ได้หลายประเภท เช่น จำแนกตามลักษณะทางพฤกษศาสตร์ (botany) จำแนกสัณฐานวิทยา (morphology) ชีพจำแนกพจักร (life cycle) หรือจำแนกถิ่นที่อยู่อาศัย (habitat) แต่การจำแนกวัชพืชโดยสัณฐานวิทยา (morphology) ที่พบในแปลงปลูกมันสำปะหลังจะช่วยให้สามารถเลือกใช้วิธีการจัดการวัชพืชได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะในกรณีของการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดวัชพืช[2]

การจำแนกชนิดของวัชพืชที่พบในแปลงปลูกมันสำปะหลัง[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

การจำแนกชนิดของวัชพืชที่พบในแปลงปลูกมันสำปะหลังจะจำแนกโดยทั่วไปจะใช้ลักษณะสัณฐานวิทยา (morphology) เนื่องจากจะทำให้สามารถทราบว่าวัชพืชที่พบในแปลงเป็นวัชพืชในกลุ่มใด เพื่อส่งผลสามารถเลือกใช้วิธีการจัดการวัชพืชได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพในกรณีของการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดวัชพืช ซึ่งการจำแนกวัชพืชที่ใช้ลักษณะสัณฐานวิทยาสามารถแบ่งได้ออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่

  1. วัชพืชใบกว้าง (broadleaved weeds) เป็นวัชพืชที่มีใบเลี้ยงคู่ (dicotyledon) มีลักษณะใบแผ่นกว้างเมื่อเทียบกับความยาวใบ เส้นใบจัดเรียงเป็นร่างแห หรือตาข่าย ลําต้นมีกิ่งก้านสาขามากมาย ส่วนใหญ่ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด การเจริญเติบโตของวัชพืชใบกว้างส่วนใหญ่จะอยู่ที่ปลายยอดหรือซอกกิ่ง
  2. วัชพืชใบแคบ (narrowleaved weeds) เป็นวัชพืชใบเลี้ยงเดี่ยว (monocotyledon) มีลักษณะใบแคบเมื่อเทียบกับความยาวใบ เส้นใบขนานกับก้านใบส่วนใหญ่ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด ส่วนของราก หรือส่วนลำต้น วัชพืชใบแคบจำแนกได้ 2 จำพวก คือ จำพวกหญ้า (grasses) ลำต้นมีลักษณะกลมและมีข้อ (node) และปล้อง (internode) มีจุดเจริญอยู่ใต้ดินและตามข้อ และจำพวกกก (sedges) จะมีลักษณะที่สำคัญที่แตกต่างจากจำพวกหญ้าคือ ลำต้นไม่มีข้อและปล้องและลำต้นมักเป็นเหลี่ยม โดยมากมักมีชื่อเรียกขึ้นต้นว่ากก

วัชพืชที่พบในแปลงปลูกมันสำปะหลัง[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ภาพ แสดงลักษณะของต้นปอวัชพืช

ปอวัชพืช[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ชื่อวิทยาศาสตร์: Corchorus aestuans L.

ชื่อสามัญ: east indian jew´s-mallow

ประเภท/ชีพจักร: ใบกว้าง/อายุปีเดียว

ลักษณะ: เป็นวัชพืชอายุปีเดียวที่มีลักษณะลำต้นตั้งตรงแตกกิ่งก้านมากสูงประมาณ 1 เมตร ลำต้นแข็งแรงขึ้นในพื้นที่ที่มีสภาพเป็นไร่ ใบใหญ่คล้ายปอกระเจา ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด

ภาพ แสดงลักษณะของต้นถั่วลิงสงนา


ถั่วลิสงนา[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ชื่อวิทยาศาสตร์: Alysicarpus vaginalis (L.) DC.

ชื่อสามัญ: alyce clover

ประเภท/ชีพจักร: ใบกว้าง/อายุปีเดียวหรือข้ามปี

ลักษณะ: เป็นวัชพืชอายุปีเดียวหรือข้ามปีที่มีลักษณะลำต้นเล็กแผ่ราบไปตามผิวดิน ระบบรากแบบหยั่งลึก ใบเป็นใบเดียวกลมป้อมคล้ายใบถั่วลิงสง ดอกออกเป็นช่อที่ปลายยอดมีสีม่วงปนแดง


ผักเบี้ยหิน[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ชื่อวิทยาศาสตร์: Trianthema portulacastrum Linn.

ภาพ แสดงลักษณะของต้นผักเบี้ยหิน

ชื่อสามัญ: house purslane

ประเภท/ชีพจักร: ใบกว้าง/อายุปีเดียว

ลักษณะ: เป็นวัชพืชอายุปีเดียวมีลักษณะลำต้นแผ่แนบไปตามพื้น ใบและลำต้นอวบน้ำ กิ่งก้านโปร่งมีขนละเอียด ออกดอกได้ตลอดปี ผลมีลักษณะเป็นฝักอยู่ติดตามซอกใบ ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดงอกได้ในสภาพดินแห้งและชื้น เจริญเติบโตได้ในสภาพแห้งไม่ชอบสภาพน้ำขัง


หญ้าแพรก[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ชื่อวิทยาศาสตร์: Cynodon dactylon (L.) Pers.

ชื่อสามัญ: bermuda grass

ภาพ แสดงลักษณะของต้นหญ้าแพรก

ประเภท/ชีพจักร: ใบแคบ/อายุข้ามปี

ลักษณะ: เป็นวัชพืชอายุข้ามปีมีลักษณะลำต้นทอดนาบกับพื้นดิน และยกสูงขึ้นได้ประมาณ 30 เซนติเมตร ใบแหลมเล็กแคบและเรียว ผิวใบเกลี้ยง ลิ้นใบเป็นแผ่นบาง ช่อดอกมี 3-7 ช่อดอกย่อยซี่งอยู่ติดกัน ตรงปลายโคนก้านเรียงเป็นวงรอบข้อ ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดหรือไหล เจริญเติบโตได้ดีในสภาพดินแห้ง


กระถิน[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ชื่อวิทยาศาสตร์: Xyris indica L.

ชื่อสามัญ: Tall yellow-eyed grass

ประเภท/ชีพจักร: ใบแคบ/อายุข้ามปี

ภาพ แสดงลักษณะของต้นหญ้าแพรก

ลักษณะ: เป็นวัชพืชอายุข้ามปีมีลักษณะลำต้นตั้งตรงสูงประมาณ 30 เซนติเมตร เจริญเติบโตเป็นกอ ใบแคบ เรียวยาว ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ คล้ายใบหญ้าแต่อ่อนกว่า ที่ส่วนโคนของใบจะแผ่ออกเป็นกาบหุ้มลำต้น  ดอก ออกเป็นช่อเดี่ยว ๆ มีกลีบประดับสีน้ำตาลซ้อนกันแน่นห่อหุ้มดอก ดอกมีสีเหลืองสด มีกลีบดอก 3 กลีบ กลีบดอกจะเหี่ยวง่าย ทยอยบานจากโคนช่อดอกไปทางปลายช่อดอก ออกดอกในฤดูหนาว ผลเป็นชนิดแคปซูล แบ่งเป็น 3 ซีก ถูกห่อหุ้มด้วยกลีบดอกที่แห้งติดอยู่


ตีนตุ๊กแก[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ชื่อวิทยาศาสตร์: Tridax procumbens L.

ชื่อสามัญ: Coat Buttons/Tridax/Wild Daisy

ประเภท/ชีพจักร: ใบกว้าง/อายุปีเดียว

ลักษณะ: เป็นวัชพืชอายุปีเดียวมีลักษณะลำต้นมีขนทอดนอนตามพื้นดิน ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับกันปลายใบแหลม ขอบใบหยักมน ผิวใบทั้งสองด้านมีขน แต่ผิวใบด้านล่างมีหนาแน่นกว่า ออกดอกเดี่ยวที่ซอกใบ ก้านดอกสั้นหรือไม่มีก้านดอก ผลเป็นรูปหอก 2 อันประกบกัน กว้าง 1-3 เซนติเมตร ด้านข้างของผลมีจะงอยเล็กน้อย ผิวมีขน มีกลีบเลี้ยงหุ้มผล

ภาพ แสดงลักษณะของต้นตีนตุ๊กแก


ผักโขมหนาม[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ชื่อวิทยาศาสตร์: Amaranthus spinosus Linn.

ชื่อสามัญ: Spiny amaranth

ประเภท/ชีพจักร: ใบกว้าง/อายุปีเดียว

ลักษณะ: เป็นวัชพืชอายุปีเดียวมีลักษณะลำต้นตั้งตรงแตกกิ่งมากรอบตัวต้นสูงประมาณ 30–110 เซนติเมตร มีหนามแหลมตามข้อ ใบมีอ่อนจะมีขนปกคลุมเล็กน้อย เป็นใบเดียวรูปหอก เรียงสลับปลายใบและโคนใบแหลม ขอบใบเป็นคลื่นเล็กน้อย ออกดอกเป็นดอกช่อบริเวณซอกใบ ปลายกิ่ง หรือข้อข้างลำต้น เมล็ดมีขนาดเล็กสีดำหรือสีน้ำตาลเป็นมันเงา ทรงกลม ตรงกลางทั้งสองด้านนูนขนาดเล็กประมาณ 0.05 เซนติเมตร

ภาพ แสดงลักษณะของต้นผักโขมหนาม


ผักบุ้งนา[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ชื่อวิทยาศาสตร์: Ipomoea aquatica Forsk.

ชื่อสามัญ: Swamp morning glory

ประเภท/ชีพจักร: ใบกว้าง/อายุข้ามปี

ลักษณะ: เป็นวัชพืชอายุข้ามปีที่มีลักษณะลำต้นกลมเป็นเถาเลื้อยยาวหลายเมตร ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดและลำต้นทั้งลำต้นและใบเมื่อตัดแล้วจะมียางสีขาว ลำต้นกลวงลอยน้ำได้ จึงสามารถอยู่ได้ในสภาพระดับน้ำลึกได้ 


มะระ                    [แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ภาพ แสดงลักษณะของต้นผักบุ้ง

ชื่อวิทยาศาสตร์: Momordica charantia L.

ชื่อสามัญ: Balsam pear, Bitter cucumber, Leprosy gourd.

ประเภท/ชีพจักร: ใบกว้าง/อายุปีเดียว

ลักษณะ: เป็นวัชพืชอายุปีเดียวที่มีลักษณะเป็นไม้เลื้อย มีมือเกาะเป็นเส้นยาวออกตรงข้ามใบ ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปฝามือกว้างและยาวประมาณ 4-7 เซนติเมตร ขอบใบเว้าเป็นแฉก ออกดอกเป็นดอกเดี่ยวบริเวณซอกใบ มีกลีบดอกสีเหลืองรูประฆัง ผลเป็นรูปรีหัวท้ายแหลมผิวขรุขระ

ภาพ แสดงลักษณะของต้นมะระ


จิงจ้อเหลี่ยม[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ชื่อวิทยาศาสตร์: Operculina turpethum (L.) S. Manso

ชื่อสามัญ: -

ประเภท/ชีพจักร: ใบกว้าง/อายุปีเดียว

ลักษณะ: เป็นวัชพืชอายุปีเดียวที่มีลักษณะเป็นไม้เถายาว 1–2 เมตร มีขนยาวหนาแน่นตามลำต้น แผ่นใบด้านล่าง ใบประดับ ใบประดับย่อย และกลีบเลี้ยงด้านนอก ใบรูปหัวใจ ออกดอกเป็นช่อกระจุกเป็นรูปแตร สีม่วงหรือชมพูแน่นบริเวณบนวงใบประดับ เมล็ดมีขนสั้นนุ่มยาว 3–4 มิลลิเมตร

ภาพ แสดงลักษณะของต้นจิงจ้อเหลี่ยม


แตงโมป่า[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ชื่อวิทยาศาสตร์: Gymnopetalum integrifolim Kurz.

ชื่อสามัญ: -

ประเภท/ชีพจักร: ใบกว้าง/อายุปีเดียว

ลักษณะ: เป็นวัชพืชอายุปีเดียวที่มีลักษณะเป็นไม้เถาเลื้อย ลำเถาอวบน้ำ และสากมีขนสีขาวสั้นตั้งตรงเกาะติดหนาแน่น ใบเป็นใบเดี่ยว การเกาะติดของใบบนกิ่งแบบเวียนและมีหนวดที่โคนก้านใบ ใบรูปไข่เกือบกลม 5 เหลี่ยม ปลายแหลม ขอบหยักบิดเป็นคลื่น ออกดอกเป็นดอกเดี่ยวบริเวณที่ซอกใบ ดอกสีขาวกลีบดอกส่วนโคนเชื่อมติดกันเป็นหลอดส่วนปลายแยกเป็นกลีบ 4 - 5 กลีบ ผลเป็นทรงกลมโต ผิวเรียบ ผลอ่อนสีเขียว มีริ้วสีขาวจาง ๆ ผลสุกนั้นจะมีสีแดงภายในมีเมล็ดจำนวนมาก เมล็ดทรงกลมรีแบนมีเยื่อหุ้มเมล็ดเป็นเมือกใสสีเขียวเข้มเกือบดำ เยื่อหุ้มเมล็ดจะมีสีเขียวเข้ม

ภาพ แสดงลักษณะของต้นแตงโมป่ะ


พะดอเงียว[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ชื่อวิทยาศาสตร์: syn. Andropogon annulatus Forssk.

ชื่อสามัญ: Hindi grass, sheda grass, two flowered golden beard

ประเภท/ชีพจักร: ใบแคบ/อายุข้ามปี

ลักษณะ: เป็นวัชพืชอายุข้ามปีมีลักษณะเป็นกอสูง 90 - 115 ใบเรียวยาวไปที่ปลายใบ หน้าใบมีขนละเอียดจำนวนมาก ส่วนหลังใบมีขนน้อยกว่าหน้าใบ ข้อต่อกาบใบมีเยื่อกันน้ำหรือลิ้นใบ (ligule) ลักษณะเป็นแผ่นสีขาวปลาย ช่อดอกมี 2 - 3 raceme เรียงตัวอยู่บนจุดเดียวกันคล้ายรูปนิ้วมือ (digitate) หรือ subdigitate แต่ละดอกย่อยยาวประมาณ 5 - 8 เซนติเมตร เปลือกหุ้มเมล็ดมีขนละเอียดสีขาวและมีหางยาวประมาณ 1.7 - 2.1 เซนติเมตร ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดและหน่อพันธุ์อายุน้อย ๆ

ภาพ แสดงลักษณะของต้นพะดอเงียว


หนาดดอย[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ชื่อวิทยาศาสตร์: Laggera pterodonta (DC.) Sch.Bip. ex Oliv.

ชื่อสามัญ: Conyza ctenoptera Kunth, Laggera pterodonta

ประเภท/ชีพจักร: ใบแคบ/อายุปีเดียว

ลักษณะ: เป็นวัชพืชอายุปีเดียวมีลักษณะลำต้นตั้งตรงความสูงของต้นได้ถึง 2 เมตร แตกกิ่งก้านเป็นสันสี่เหลี่ยมแผ่เป็นปีกบาง ๆ สีเขียว มีขนละเอียด ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ลักษณะของใบเป็นรูปไข่กลับแกมรูปขอบขนานถึงรูปไข่กลับแผ่นใบมีขนละเอียดทั้งสองด้าน หลังใบเป็นสีเขียวหม่นถึงสีเขียวเข้ม ส่วนท้องใบเป็นสีเขียว ออกดอกเป็นช่อกระจุกแน่นแยกแขนงหรือเชิงหลั่นบริเวณซอกใบ มีชั้นใบประดับ กลีบดอกเป็นสีม่วงเข้ม เชื่อมติดกันเป็นหลอดยาว ผลเป็นรูปเส้นยาว ขอบเป็นสัน ไม่แตก และมีขนละเอียด

ภาพ แสดงลักษณะของต้นหนาดดอย


สาบแล้งสาบกา[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ชื่อวิทยาศาสตร์: Ageratum conyzoides L.

ชื่อสามัญ: Goat weed

ประเภท: ใบกว้าง/อายุปีเดียว

ลักษณะ: เป็นวัชพืชอายุปีเดียวมีลักษณะลำต้นเรียวยาวมีขนสีขาวสูง 24-30 เซนติเมตร ใบเดี่ยวเรียงสลับออกตรงข้ามคล้ายรูปไข่แกมรูปหัวใจผิวใบทั้ง 2 ด้านมีขน ขอบใบหยักมนหรือแหลม ดอกออกเป็นช่อกระจุกแน่นออกเป็นช่อเชิงหลั่นประกอบด้วย 5-15 ช่อย่อยผล ผลแห้ง เมล็ดรูปขนานสีดำยาว 1.5-1.7 มิลลิเมตร

ภาพ แสดงลักษณะของต้นสาบแล้งสาบกา

การจัดการวัชพืชในแปลงปลูกมันสำปะหลัง[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

การจัดการวัชพืช (weed management) เป็นการบูรณาการระหว่างการป้องกัน การควบคุมและการกำจัดมาใช้ร่วมกัน แต่จะใช้วิธีการมากกว่าหรือน้อยกว่ากันใดนั้นขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของปัญหา แต่โดยทั่วไปการจัดการจะเน้นไปที่การแก้ปัญหามากกว่าการป้องกัน ที่เรียกโดยทั่วไปว่า การควบคุมกำจัด ซึ่งการควบคุมกำจัดวัชพืชสามารถทำได้หลายวิธีโดยต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมและสามารถแบ่งออกได้[3]

  1. การป้องกันกำจัดโดยวิธีกล เป็นวิธีกำจัดวัชพืชโดยการใช้แรงงานคนถากหญ้า หรือใช้เครื่องจักรกลขนาดเล็กเข้ากำจัดวัชพืชในร่องขณะที่ต้นมันสำปะหลังยังเล็ก หรือช่วงมันสำปะหลังมีอายุ 4 เดือนแรกหลังปลูก
  2. การป้องกันกำจัดโดยการใช้สารป้องกันกำจัดวัชพืช เป็นวิธีกำจัดวัชพืชโดยการใช้สารกำจัดวัชพืช (herbicide) ซึ่งเป็นสารเคมีที่มีฤทธิ์ในการควบคุมกำจัดวัชพืชที่ส่งผลให้วัชพืชยับยั้งการเจริญเติบโตหรือตายสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดหลัก ๆ

แบ่งตามขอบเขตของชนิดพืชที่ควบคุม[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

  1. ประเภทเลือกทำลาย (selective herbicides) หมายถึง สารเคมีที่มีฤทธิ์ในการควบคุมพืชบางชนิด แต่ไม่มีผลหรือมีผลน้อยกับพืชอีกบางชนิด สามารถควบคุมกำจัดวัชพืชได้บางชนิด โดยไม่เป็นอันตรายหรือเป็นอันตรายเพียงเล็กน้อยต่อต้นมันสำปะหลัง
  2. ประเภทไม่เลือกทำลาย (nonselective herbicides) หมายถึง สารเคมีที่มีฤทธิ์ในการควบคุมกำจัดพืชหรือวัชพืชทุกชนิด หากฉีดพ่นในการปลูกมันสำปะหลังต้องระมัดระวังอันตรายที่จะส่งผลต่อความเสียหายได้

แบ่งตามลักษณะการใช้กับพืช[4][แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

  1. ประเภทใช้ทางใบ (foliar application) หมายถึง สารกำจัดวัชพืชที่เข้าสู่พืชทางใบหรือยอดอ่อน ซึ่งสามารถแบ่งย่อยได้อีก คือ 1) ประเภทสัมผัสตาย (contact herbicides) คือ สารกำจัดวัชพืชที่มีความสามารถทำลายพืชได้เฉพาะส่วนที่สารไปสัมผัสเท่านั้นโดยไม่มีการเคลื่อนย้ายของสารไปสู่ส่วนอื่น ๆ ของพืช 2) ประเภทดูดซึม (systemic หรือ translocated herbicides) คือ สารกำจัดวัชพืชที่เมื่อเข้าสู่พืชแล้วสามารถเคลื่อนย้ายไปสู่ส่วนอื่นของพืชได้ โดยจะเคลื่อนย้ายไปตามท่ออาหาร (phloem) เป็นส่วนใหญ่ และจะแสดงผลในการทำลายในจุดต่าง ๆ ที่สารประเภทนี้เคลื่อนย้ายไปถึง
  2. ประเภทใช้ทางดิน (soil application) หมายถึง สารกำจัดวัชพืชที่เข้าสู่พืชทางรากหรือส่วนอื่นๆ ของพืชที่อยู่ใต้ดิน ซึ่งรวมถึงใบเลี้ยงหรือยอดอ่อนก่อนจะโผล่พ้นพื้นผิวดิน มีผลทำให้ส่วนขยายพันธุ์ของพืช ซึ่งเริ่มจะงอกหรือกำลังงอกได้รับอันตราย สารกำจัดวัชพืชประเภทใช้ทางดินมักจะมีผลตกค้างในดิน (residue) สารบางชนิดอยู่ในดินได้นานเป็นปี ขึ้นกับชนิดและความเข้มข้นของสาร และสภาพแวดล้อม เช่น ความชื้นและชนิดของดิน

อ้างอิง[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

  1. พรชัย เหลืองอาภาพงศ์ 2523 การป้องกันกำจัดวัชพืช ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 164 หน้า
  2. สุชาดา ศรีเพ็ญ. 2525. การจำแนกวัชพืช. วิทยาการวัชพืช เอกสารวิชาการของสมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย เล่ม 1 หน้า 11-13
  3. พรชัย เหลืองอาภาพงศ์ 2523 การป้องกันกำจัดวัชพืช ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 164 หน้า
  4. อัมพร สุวรรณเมฆ มปป. สิ่งที่ต้องพิจารณาบางประการในการใช้สารเคมีกำจัดวัชพืช เอกสารโรเนียว ภาควิชาพืชไร่นา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 7 หน้า