ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ห้วยบง 60"

(สร้างหน้าด้วย "พันธุ์ห้วยบง 60 เป็นมันสำปะหลังพันธุ์ใหม่ที่พัฒนาโดยค...")
 
 
(ไม่แสดง 7 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
พันธุ์ห้วยบง 60 เป็นมันสำปะหลังพันธุ์ใหม่ที่พัฒนาโดยความร่วมมือของนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และมูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย พันธุ์นี้เกิดจากการผสมพันธุ์ระหว่างพันธุ์ระยอง 5 กับพันธุ์เกษตรศาสตร์ 50 แนะนำและส่งเสริมพันธุ์ ในปี พ.ศ. 2546 ลักษณะเด่นของพันธุ์ห้วยบง 60 ให้ผลผลิตหัวสดสูงกว่าพันธุ์เกษตรศาสตร์ 50 และมีแป้งในหัวสูงกว่าพันธุ์เกษตรศาสตร์ 50 เล็กน้อย สามารถปลูกได้ทั่วเขตปลูกมันสำปะหลังและนำมาสกัดแป้งจากหัวสดได้มาก แป้งมีสีขาวและมีความหนืดสูง เหมาะสมกับอุตสาหกรรมแป้งและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง นอกจากนั้นพันธุ์นี้ยังมีคุณสมบัติที่ท่อนพันธุ์งอกดี ลำต้นสูงใหญ่ สามารถคลุมวัชพืชได้ดี
มันสำปะหลังพันธุ์ห้วยบง 60 พัฒนาโดยความร่วมมือของนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และมูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย พันธุ์นี้เกิดจากการผสมพันธุ์ระหว่างพันธุ์              [[ระยอง 5]] กับพันธุ์[[เกษตรศาสตร์ 50]] แนะนำและส่งเสริมพันธุ์ ในปี พ.ศ. 2546<ref>มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. 2552. เอกสารวิชาการการปลูกมันสำปะหลังที่ดี</ref>
 
== ลักษณะประจำพันธุ์<ref>กรมวิชาการเกษตร. 2552. การจำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง. โรงพิมพ์สำนักงานพุทธศาสนาแห่งชาติ.</ref><ref>กรมส่งเสริมการเกษตร. 2558. คู่มือการจำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง. บริษัท ซัน แพคเกจจิ้ง (2014) จำกัด</ref> ==
{| class="wikitable"
|'''ลักษณะ'''
|'''ห้วยบง 60'''
|-
|สียอดอ่อน
|สีม่วงอ่อน
|-
|การมีขนที่ยอดอ่อน
|ไม่มีขน
|-
|สีก้านใบ
|สีเขียวอมม่วง
|-
|ลักษณะใบ
|ใบหอก
|-
|ลักษณะหูใบ
|หูใบมีสีเขียวยาวและไม่หลุดง่าย
|-
|ลักษณะทรงต้น/ระดับการแตกกิ่ง
|ลำต้นโค้ง  แตกกิ่งมุมกว้าง 0 – 1 ระดับ
|-
|สีลำต้น
|สีเขียวเงิน
|-
|สีของเปลือกหัว
|สีน้ำตาลอ่อน
|-
|ลักษณะหัว
|ยาวเรียว
|-
|สีเนื้อหัว
|สีขาว
|-
|ลักษณะเด่น
|มีผลผลิตและปริมาณแป้งสูง ต้านทานโรคใบจุดปานกลาง
|-
|ข้อจำกัด
|ควรเก็บเกี่ยวเมื่ออายุไม่น้อยกว่า 10 เดือน
|-
|เปอร์เซ็นต์แป้ง (%)
|25.4
|-
|ผลผลิตหัวสด (ตัน/ไร่)
|5.8
|}
[[ไฟล์:Image ทรงต้นห้วยบง60.png|center|thumb|382x382px|ภาพแสดงลักษณะทรงต้นมันสำปะหลังห้วยบง 60]]
[[ไฟล์:Image ยอดHB60.png|center|thumb|ภาพแสดงลักษณะยอดอ่อนมันสำปะหลังห้วยบง 60]]
[[ไฟล์:Image หูใบHB60.png|center|thumb|ภาพแสดงลักษณะหูใบมันสำปะหลังห้วยบง 60]]
[[ไฟล์:Image ก้านใบHB60.png|center|thumb|363x363px|ภาพแสดงลักษณะก้านใบมันสำปะหลังห้วยบง 60]]
[[ไฟล์:Image ใบHB60.png|center|thumb|364x364px|ภาพแสดงลักษณะใบมันสำปะหลังห้วยบง 60]]
[[ไฟล์:Image สีลำต้นHB60.png|center|thumb|ภาพแสดงลักษณะสีลำต้นมันสำปะหลังห้วยบง 60]]
[[ไฟล์:Image หัวHB60.png|center|thumb|378x378px|ภาพแสดงลักษณะหัวมันสำปะหลังห้วยบง 60]]
 
== อ้างอิง ==
<references />
[[หมวดหมู่:พันธุ์]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 12:10, 1 ธันวาคม 2564

มันสำปะหลังพันธุ์ห้วยบง 60 พัฒนาโดยความร่วมมือของนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และมูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย พันธุ์นี้เกิดจากการผสมพันธุ์ระหว่างพันธุ์ ระยอง 5 กับพันธุ์เกษตรศาสตร์ 50 แนะนำและส่งเสริมพันธุ์ ในปี พ.ศ. 2546[1]

ลักษณะประจำพันธุ์[2][3]แก้ไข

ลักษณะ ห้วยบง 60
สียอดอ่อน สีม่วงอ่อน
การมีขนที่ยอดอ่อน ไม่มีขน
สีก้านใบ สีเขียวอมม่วง
ลักษณะใบ ใบหอก
ลักษณะหูใบ หูใบมีสีเขียวยาวและไม่หลุดง่าย
ลักษณะทรงต้น/ระดับการแตกกิ่ง ลำต้นโค้ง แตกกิ่งมุมกว้าง 0 – 1 ระดับ
สีลำต้น สีเขียวเงิน
สีของเปลือกหัว สีน้ำตาลอ่อน
ลักษณะหัว ยาวเรียว
สีเนื้อหัว สีขาว
ลักษณะเด่น มีผลผลิตและปริมาณแป้งสูง ต้านทานโรคใบจุดปานกลาง
ข้อจำกัด ควรเก็บเกี่ยวเมื่ออายุไม่น้อยกว่า 10 เดือน
เปอร์เซ็นต์แป้ง (%) 25.4
ผลผลิตหัวสด (ตัน/ไร่) 5.8
 
ภาพแสดงลักษณะทรงต้นมันสำปะหลังห้วยบง 60
 
ภาพแสดงลักษณะยอดอ่อนมันสำปะหลังห้วยบง 60
 
ภาพแสดงลักษณะหูใบมันสำปะหลังห้วยบง 60
 
ภาพแสดงลักษณะก้านใบมันสำปะหลังห้วยบง 60
 
ภาพแสดงลักษณะใบมันสำปะหลังห้วยบง 60
 
ภาพแสดงลักษณะสีลำต้นมันสำปะหลังห้วยบง 60
 
ภาพแสดงลักษณะหัวมันสำปะหลังห้วยบง 60

อ้างอิงแก้ไข

  1. มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. 2552. เอกสารวิชาการการปลูกมันสำปะหลังที่ดี
  2. กรมวิชาการเกษตร. 2552. การจำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง. โรงพิมพ์สำนักงานพุทธศาสนาแห่งชาติ.
  3. กรมส่งเสริมการเกษตร. 2558. คู่มือการจำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง. บริษัท ซัน แพคเกจจิ้ง (2014) จำกัด