ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การวิเคราะห์ศักยภาพพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง"

จาก Cassava
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
 
(ไม่แสดง 2 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 4: บรรทัดที่ 4:
=== '''เกณฑ์ที่เหมาะสมในการปลูกมันสำปะหลัง''' ===
=== '''เกณฑ์ที่เหมาะสมในการปลูกมันสำปะหลัง''' ===


# '''สภาพภูมิอากาศที่เหมาะสม''' มันสำปะหลังเจริญเติบโตได้ดีในภูมิอากาศแบบร้อนชื้นที่มีอุณหภูมิอากาศ 25-35 องศาเซลเซียส แต่ที่เหมาะสมคืออุณหภูมิอากาศ 25-29 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิดินประมาณ 30 องศาเซลเซียส <ref>FAO. (2019). ''The state of food security and nutrition in the world 2019: safeguarding against economic slowdowns and downturns'' (Vol. 2019). Food & Agriculture Org.</ref> ถ้าอุณภูมิอากาศเฉลี่ยต่ำกว่า 25 องศาเซลเซียส จะมีผลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิต (Onwueme, 1978; Cock, 1985) อุณหภูมิอากาศต่ำกว่า 10 องศาเซลเซียส หรือมีหิมะและน้ำค้างแข็ง จะทำให้การเจริญเติบโตหยุดชะงักและไม่แนะนำให้ปลูกมันสำปะหลัง (Cock, 1985; FAO, 2019) นอกจากนี้อุณหภูมิที่สูงเกินไปก็ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของพืช จากการคาดการณ์การเกิดสภาวะโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอาจทำให้ผลผลิตของมันสำปะหลังลดลงถึง 43 เปอร์เซ็นต์ในอนาคต (Boonpradub et al., 2009)   พื้นที่ปลูกมันสำปะหลังควรมีการกระจายของปริมาณน้ำฝน 1,000-3,000 มิลลิเมตรต่อปี สามารถทนแล้งได้นาน 3-4 เดือนหากเกิดฝนทิ้งช่วงหรือมีปริมาณน้ำฝนต่ำเนื่องจากมันสำปะหลังมีระบบรากลึกซึ่งสามารถดูดซับน้ำใต้ดินมาใช้ได้ รวมทั้งมีกลไกในการทนต่อสภาพแห้งแล้งเป็นเวลานาน เช่น ทิ้งใบและชะลอการเจริญเติบโต (Onwueme, 1978; CIAT, 1980; Onwueme and Sinha, 1991; FAO, 2019) มันสำปะหลังจึงเป็นพืชที่สามารถปลูกได้ดีในพื้นที่ที่มีการกระจายของปริมาณน้ำฝนไม่สม่ำเสมอตลอดปี ถึงแม้ว่ามันสำปะหลังจะเป็นพืชทนแล้งแต่บริเวณที่มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยน้อยกว่า 500-600 มิลลิเมตรต่อปี เช่น เขตทะเลทราย ไม่เหมาะสมต่อการปลูกมันสำปะหลัง (CIAT, 1980; Cock, 1985) นอกจากนี้มันสำปะหลังไม่ทนต่อสภาพน้ำขัง (Onwueme and Sinha, 1991) ดังนั้นในสภาพพื้นที่ที่มีฝนตกชุกสลับกับฤดูแล้งสั้น ๆ เช่น พื้นที่ส่วนใหญ่ในภาคใต้ของประเทศไทยที่มีฝนตกเป็นระยะเวลานานถึง 8 เดือน จึงไม่เหมาะสมสำหรับการปลูกมันสำปะหลัง เพราะอาจทำให้หัวเน่าเสียหายและต้นตายได้ (Boonpradub et al., 2009)
# '''สภาพภูมิอากาศที่เหมาะสม''' มันสำปะหลังเจริญเติบโตได้ดีในภูมิอากาศแบบร้อนชื้นที่มีอุณหภูมิอากาศ 25-35 องศาเซลเซียส แต่ที่เหมาะสมคืออุณหภูมิอากาศ 25-29 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิดินประมาณ 30 องศาเซลเซียส <ref name=":0">FAO. (2019). ''The state of food security and nutrition in the world 2019: safeguarding against economic slowdowns and downturns'' (Vol. 2019). Food & Agriculture Org.</ref> ถ้าอุณภูมิอากาศเฉลี่ยต่ำกว่า 25 องศาเซลเซียส จะมีผลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิต<ref name=":1">Onwueme, I. C. (1978). ''The tropical tuber crops: yams, cassava, sweet potato, and cocoyams'': John Wiley and sons.</ref><ref name=":2">Cock, J. H. (1985). Cassava: new potential for a neglected crop Westview Pres s Boulder.</ref> อุณหภูมิอากาศต่ำกว่า 10 องศาเซลเซียส หรือมีหิมะและน้ำค้างแข็ง จะทำให้การเจริญเติบโตหยุดชะงักและไม่แนะนำให้ปลูกมันสำปะหลัง<ref name=":2" /> <ref name=":0" />นอกจากนี้อุณหภูมิที่สูงเกินไปก็ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของพืช จากการคาดการณ์การเกิดสภาวะโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอาจทำให้ผลผลิตของมันสำปะหลังลดลงถึง 43 เปอร์เซ็นต์ในอนาคต<ref name=":3">Boonpradub, S., Ratanasriwong, S., Sarawat, V., Kapetch, P., Ek-un, K., Damrhikhemtrakul, W., . . . Technology. (2009). Impact of global warming on three major field crops production of Thailand (Thai). 14(7), 626-649.</ref> พื้นที่ปลูกมันสำปะหลังควรมีการกระจายของปริมาณน้ำฝน 1,000-3,000 มิลลิเมตรต่อปี สามารถทนแล้งได้นาน 3-4 เดือนหากเกิดฝนทิ้งช่วงหรือมีปริมาณน้ำฝนต่ำเนื่องจากมันสำปะหลังมีระบบรากลึกซึ่งสามารถดูดซับน้ำใต้ดินมาใช้ได้ รวมทั้งมีกลไกในการทนต่อสภาพแห้งแล้งเป็นเวลานาน เช่น ทิ้งใบและชะลอการเจริญเติบโต<ref name=":1" /><ref name=":0" />  มันสำปะหลังจึงเป็นพืชที่สามารถปลูกได้ดีในพื้นที่ที่มีการกระจายของปริมาณน้ำฝนไม่สม่ำเสมอตลอดปี ถึงแม้ว่ามันสำปะหลังจะเป็นพืชทนแล้งแต่บริเวณที่มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยน้อยกว่า 500-600 มิลลิเมตรต่อปี เช่น เขตทะเลทราย ไม่เหมาะสมต่อการปลูกมันสำปะหลัง<ref name=":2" /> นอกจากนี้มันสำปะหลังไม่ทนต่อสภาพน้ำขัง <ref name=":4">Onwueme, I., & Sinha, T. (1991). ''Field crop production in tropical Africa: principles and practice'': CTA.</ref> ดังนั้นในสภาพพื้นที่ที่มีฝนตกชุกสลับกับฤดูแล้งสั้น ๆ เช่น พื้นที่ส่วนใหญ่ในภาคใต้ของประเทศไทยที่มีฝนตกเป็นระยะเวลานานถึง 8 เดือน จึงไม่เหมาะสมสำหรับการปลูกมันสำปะหลัง เพราะอาจทำให้หัวเน่าเสียหายและต้นตายได้<ref name=":3" />
# '''สภาพพื้นที่ปลูกที่เหมาะสม''' มันสำปะหลังสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดีในเขตร้อนและกึ่งร้อน ตั้งแต่บริเวณเส้นรุ้งที่ 30 องศาเหนือถึง 30 องศาใต้ แต่มีการปลูกแพร่หลายระหว่าง 15 องศาเหนือ ถึง 15 องศาใต้ เนื่องจากให้ผลผลิตดี (Onwueme, 1978; Cock, 1985) สำหรับประเทศไทยอยู่ในระหว่างเส้นรุ้งที่ 6-20 องศาเหนือ จึงสามารถปลูกมันสำปะหลังได้ทุกภาคยกเว้นภาคใต้ซึ่งมีฝนตกชุก มันสำปะหลังสามารถเจริญเติบโตได้ในภูมิประเทศที่เป็นที่ราบจนถึงพื้นที่ที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเล 1,800-2,000 เมตร เช่นเทือกเขาแอนดีส (Onwueme, 1978; FAO, 2019) สำหรับสภาพพื้นที่ที่เหมาะสมคือที่ดอนหรือบริเวณที่ราบขั้นบันไดระดับกลาง (Middle terrace) ลักษณะดินเป็นดินร่วนถึงร่วนปนทราย มีการระบายน้ำและถ่ายเทอากาศดี มีความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง ซึ่งจะทำให้มันสำปะหลังลงหัวได้ดีและเก็บเกี่ยวได้ง่าย เช่น พื้นที่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย (กรมพัฒนาที่ดิน, 2546) นอกจากนี้แปลงปลูก มันสำปะหลังควรเป็นดินที่ไม่มีกรวดหรือดินเค็ม (Onwueme and Sinha, 1991) มีค่าความเป็นกรด-ด่างของดิน (pH) 4.0-8.0 (USDA, 2005) โดยค่า pH ที่เหมาะสมคือ 4.5 ถึง 6.5 (Onwueme and Sinha, 1991) ซึ่งมันสำปะหลังสามารถเจริญเติบโตได้ในสภาพดินที่มีความเป็นกรดสูง (ค่า pH ต่ำถึง 4.5) โดยไม่มีผลกระทบต่อผลผลิต แต่ไม่ทนต่อสภาพดินที่เป็นด่างสูง หากค่า pH สูงกว่า 8 จะทำให้การเจริญเติบโตและผลผลิตลดลง (USDA, 2005; มูลนิธิพัฒนามันสําปะหลังแห่งประเทศไทย, 2546)
# '''สภาพพื้นที่ปลูกที่เหมาะสม''' มันสำปะหลังสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดีในเขตร้อนและกึ่งร้อน ตั้งแต่บริเวณเส้นรุ้งที่ 30 องศาเหนือถึง 30 องศาใต้ แต่มีการปลูกแพร่หลายระหว่าง 15 องศาเหนือ ถึง 15 องศาใต้ เนื่องจากให้ผลผลิตดี <ref name=":1" /><ref name=":2" /> สำหรับประเทศไทยอยู่ในระหว่างเส้นรุ้งที่ 6-20 องศาเหนือ จึงสามารถปลูกมันสำปะหลังได้ทุกภาคยกเว้นภาคใต้ซึ่งมีฝนตกชุก มันสำปะหลังสามารถเจริญเติบโตได้ในภูมิประเทศที่เป็นที่ราบจนถึงพื้นที่ที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเล 1,800-2,000 เมตร เช่นเทือกเขาแอนดีส<ref name=":1" /><ref name=":0" /> สำหรับสภาพพื้นที่ที่เหมาะสมคือที่ดอนหรือบริเวณที่ราบขั้นบันไดระดับกลาง (Middle terrace) ลักษณะดินเป็นดินร่วนถึงร่วนปนทราย มีการระบายน้ำและถ่ายเทอากาศดี มีความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง ซึ่งจะทำให้มันสำปะหลังลงหัวได้ดีและเก็บเกี่ยวได้ง่าย เช่น พื้นที่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย นอกจากนี้แปลงปลูก มันสำปะหลังควรเป็นดินที่ไม่มีกรวดหรือดินเค็ม<ref name=":4" /> มีค่าความเป็นกรด-ด่างของดิน (pH) 4.0-8.0 <ref name=":5">USDA. (2005). Household Food Security in the United States, 2005. USDA ERS. ''Economic Report'', (11).</ref> โดยค่า pH ที่เหมาะสมคือ 4.5 ถึง 6.5 <ref name=":4" />ซึ่งมันสำปะหลังสามารถเจริญเติบโตได้ในสภาพดินที่มีความเป็นกรดสูง (ค่า pH ต่ำถึง 4.5) โดยไม่มีผลกระทบต่อผลผลิต แต่ไม่ทนต่อสภาพดินที่เป็นด่างสูง หากค่า pH สูงกว่า 8 จะทำให้การเจริญเติบโตและผลผลิตลดลง <ref name=":5" /><ref name=":6">จารณ์ วิชชุกิจ, เจริญศักดิ์ โรจนฤทธิ์พิเชษฐ์, ปิยะวุฒิ พูลสงวน, เอ็จ สโรบล, จำลอง เจียมจำนรรจา, ประภาส ช่างเหล็ก, ปิยะ กิตติภาดากุล, นิพนธ์ ทวีชัย, กล้าณรงค์ ศรีรอต และ เกื้อกูล ปิยะจอมขวัญ. 2547. แนะนำพันธุ์มันสำปะหลัง MKU(Boonpradub et al., 2009; Cock, 1982; I. Onwueme & Sinha, 1991; I. C. Onwueme, 1978)C34-114-206 (ห้วยบง 60). ใน รายงานคณะกรรมการบริหารสมาคมโรงงานผู้ผลิตมันสำปะหลังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. น. 64-66. นคราชสีมา: [ม.ป.ท.]</ref><ref name=":7">มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
วิจารณ์ วิชชุกิจ, เจริญศักดิ์ โรจนฤทธิ์พิเชษฐ์, ปิยะวุฒิ พูลสงวน, เอ็จ สโรบล, จำลอง เจียมจำนรรจา, ประภาส ช่างเหล็ก, ปิยะ กิตติภาดากุล, นิพนธ์ ทวีชัย, กล้าณรงค์ ศรีรอต และ เกื้อกูล ปิยะจอมขวัญ. 2547. แนะนำพันธุ์มันสำปะหลัง MKU(Boonpradub et al., 2009; Cock, 1982; I. Onwueme & Sinha, 1991; I. C. Onwueme, 1978)C34-114-206 (ห้วยบง 60). ใน รายงานคณะกรรมการบริหารสมาคมโรงงานผู้ผลิตมันสำปะหลังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. น. 64-66. นคราชสีมา: [ม.ป.ท.].
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.
Howeler, R., Lutaladio, N., & Thomas, G. (2013). Save and grow: cassava. A guide to sustainable production intensification. Fao.
Boonpradub, S., Ratanasriwong, S., Sarawat, V., Kapetch, P., Ek-un, K., Damrhikhemtrakul, W., . . . Technology. (2009). Impact of global warming on three major field crops production of Thailand (Thai). 14(7), 626-649.
Cock, J. H. J. S. (1982). Cassava: a basic energy source in the tropics. 218(4574), 755-762.
Cock, J. H. (1985). Cassava: new potential for a neglected crop Westview Pres s Boulder.
FAO. (2019). ''The state of food security and nutrition in the world 2019: safeguarding against economic slowdowns and downturns'' (Vol. 2019). Food & Agriculture Org.
Onwueme, I., & Sinha, T. (1991). ''Field crop production in tropical Africa: principles and practice'': CTA.
Onwueme, I. C. (1978). ''The tropical tuber crops: yams, cassava, sweet potato, and cocoyams'': John Wiley and sons.

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 08:26, 2 กรกฎาคม 2564

ข้อมูลที่จำเป็นในการพิจารณาศักยภาพพื้นที่ปลูก[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

มันสำปะหลังเป็นพืชเศรษฐกิจที่มีการปลูกอย่างแพร่หลายและสามารถปลูกได้เกือบทุกภาคของประเทศ สิ่งที่ต้องคำนึงถึงในการผลิตมันสำปะหลังในพื้นที่ที่ไม่เคยปลูกมันสำปะหลังมาก่อน คือ ความเหมาะสมของพื้นที่ที่จะใช้ในการปลูก ได้แก่ สภาพภูมิอากาศ สภาพพื้นที่ปลูก และแหล่งรับซื้อผลผลิต พื้นที่ปลูกจะส่งผลต่อวิธีการจัดการในแปลงปลูกและผลผลิตของมันสำปะหลัง หากพื้นที่ปลูกและการจัดการไม่เหมาะสมจะทำให้ได้ผลผลิตไม่เต็มศักยภาพ อาจถึงขั้นได้ผลผลิตที่ต่ำกว่าจุดคุ้มทุนและส่งผลให้ผู้ปลูกประสบภาวะขาดทุน

เกณฑ์ที่เหมาะสมในการปลูกมันสำปะหลัง[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

  1. สภาพภูมิอากาศที่เหมาะสม มันสำปะหลังเจริญเติบโตได้ดีในภูมิอากาศแบบร้อนชื้นที่มีอุณหภูมิอากาศ 25-35 องศาเซลเซียส แต่ที่เหมาะสมคืออุณหภูมิอากาศ 25-29 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิดินประมาณ 30 องศาเซลเซียส [1] ถ้าอุณภูมิอากาศเฉลี่ยต่ำกว่า 25 องศาเซลเซียส จะมีผลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิต[2][3] อุณหภูมิอากาศต่ำกว่า 10 องศาเซลเซียส หรือมีหิมะและน้ำค้างแข็ง จะทำให้การเจริญเติบโตหยุดชะงักและไม่แนะนำให้ปลูกมันสำปะหลัง[3] [1]นอกจากนี้อุณหภูมิที่สูงเกินไปก็ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของพืช จากการคาดการณ์การเกิดสภาวะโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอาจทำให้ผลผลิตของมันสำปะหลังลดลงถึง 43 เปอร์เซ็นต์ในอนาคต[4] พื้นที่ปลูกมันสำปะหลังควรมีการกระจายของปริมาณน้ำฝน 1,000-3,000 มิลลิเมตรต่อปี สามารถทนแล้งได้นาน 3-4 เดือนหากเกิดฝนทิ้งช่วงหรือมีปริมาณน้ำฝนต่ำเนื่องจากมันสำปะหลังมีระบบรากลึกซึ่งสามารถดูดซับน้ำใต้ดินมาใช้ได้ รวมทั้งมีกลไกในการทนต่อสภาพแห้งแล้งเป็นเวลานาน เช่น ทิ้งใบและชะลอการเจริญเติบโต[2][1] มันสำปะหลังจึงเป็นพืชที่สามารถปลูกได้ดีในพื้นที่ที่มีการกระจายของปริมาณน้ำฝนไม่สม่ำเสมอตลอดปี ถึงแม้ว่ามันสำปะหลังจะเป็นพืชทนแล้งแต่บริเวณที่มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยน้อยกว่า 500-600 มิลลิเมตรต่อปี เช่น เขตทะเลทราย ไม่เหมาะสมต่อการปลูกมันสำปะหลัง[3] นอกจากนี้มันสำปะหลังไม่ทนต่อสภาพน้ำขัง [5] ดังนั้นในสภาพพื้นที่ที่มีฝนตกชุกสลับกับฤดูแล้งสั้น ๆ เช่น พื้นที่ส่วนใหญ่ในภาคใต้ของประเทศไทยที่มีฝนตกเป็นระยะเวลานานถึง 8 เดือน จึงไม่เหมาะสมสำหรับการปลูกมันสำปะหลัง เพราะอาจทำให้หัวเน่าเสียหายและต้นตายได้[4]
  2. สภาพพื้นที่ปลูกที่เหมาะสม มันสำปะหลังสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดีในเขตร้อนและกึ่งร้อน ตั้งแต่บริเวณเส้นรุ้งที่ 30 องศาเหนือถึง 30 องศาใต้ แต่มีการปลูกแพร่หลายระหว่าง 15 องศาเหนือ ถึง 15 องศาใต้ เนื่องจากให้ผลผลิตดี [2][3] สำหรับประเทศไทยอยู่ในระหว่างเส้นรุ้งที่ 6-20 องศาเหนือ จึงสามารถปลูกมันสำปะหลังได้ทุกภาคยกเว้นภาคใต้ซึ่งมีฝนตกชุก มันสำปะหลังสามารถเจริญเติบโตได้ในภูมิประเทศที่เป็นที่ราบจนถึงพื้นที่ที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเล 1,800-2,000 เมตร เช่นเทือกเขาแอนดีส[2][1] สำหรับสภาพพื้นที่ที่เหมาะสมคือที่ดอนหรือบริเวณที่ราบขั้นบันไดระดับกลาง (Middle terrace) ลักษณะดินเป็นดินร่วนถึงร่วนปนทราย มีการระบายน้ำและถ่ายเทอากาศดี มีความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง ซึ่งจะทำให้มันสำปะหลังลงหัวได้ดีและเก็บเกี่ยวได้ง่าย เช่น พื้นที่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย นอกจากนี้แปลงปลูก มันสำปะหลังควรเป็นดินที่ไม่มีกรวดหรือดินเค็ม[5] มีค่าความเป็นกรด-ด่างของดิน (pH) 4.0-8.0 [6] โดยค่า pH ที่เหมาะสมคือ 4.5 ถึง 6.5 [5]ซึ่งมันสำปะหลังสามารถเจริญเติบโตได้ในสภาพดินที่มีความเป็นกรดสูง (ค่า pH ต่ำถึง 4.5) โดยไม่มีผลกระทบต่อผลผลิต แต่ไม่ทนต่อสภาพดินที่เป็นด่างสูง หากค่า pH สูงกว่า 8 จะทำให้การเจริญเติบโตและผลผลิตลดลง [6][7][8]

อ้างอิง[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 FAO. (2019). The state of food security and nutrition in the world 2019: safeguarding against economic slowdowns and downturns (Vol. 2019). Food & Agriculture Org.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 Onwueme, I. C. (1978). The tropical tuber crops: yams, cassava, sweet potato, and cocoyams: John Wiley and sons.
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 Cock, J. H. (1985). Cassava: new potential for a neglected crop Westview Pres s Boulder.
  4. 4.0 4.1 Boonpradub, S., Ratanasriwong, S., Sarawat, V., Kapetch, P., Ek-un, K., Damrhikhemtrakul, W., . . . Technology. (2009). Impact of global warming on three major field crops production of Thailand (Thai). 14(7), 626-649.
  5. 5.0 5.1 5.2 Onwueme, I., & Sinha, T. (1991). Field crop production in tropical Africa: principles and practice: CTA.
  6. 6.0 6.1 USDA. (2005). Household Food Security in the United States, 2005. USDA ERS. Economic Report, (11).
  7. จารณ์ วิชชุกิจ, เจริญศักดิ์ โรจนฤทธิ์พิเชษฐ์, ปิยะวุฒิ พูลสงวน, เอ็จ สโรบล, จำลอง เจียมจำนรรจา, ประภาส ช่างเหล็ก, ปิยะ กิตติภาดากุล, นิพนธ์ ทวีชัย, กล้าณรงค์ ศรีรอต และ เกื้อกูล ปิยะจอมขวัญ. 2547. แนะนำพันธุ์มันสำปะหลัง MKU(Boonpradub et al., 2009; Cock, 1982; I. Onwueme & Sinha, 1991; I. C. Onwueme, 1978)C34-114-206 (ห้วยบง 60). ใน รายงานคณะกรรมการบริหารสมาคมโรงงานผู้ผลิตมันสำปะหลังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. น. 64-66. นคราชสีมา: [ม.ป.ท.]
  8. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.