ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกษตรศาสตร์ 50"
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
(ไม่แสดง 3 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน) | |||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
เกษตรศาสตร์ 50 | มันสำปะหลังพันธุ์เกษตรศาสตร์ 50 เป็นผลงานวิจัยร่วมกันของ 3 หน่วยงาน คือ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรมวิชาการเกษตร และศูนย์เกษตรเขตร้อนนานาชาติ (Centro Internacional de Agricultura Tropical) หรือเซียท (CIAT) เป็นลูกผสมระหว่างพันธุ์ระยอง 1 กับพันธุ์ระยอง 90 และเนื่องในวาระครบรอบ 50 ปี ใน พ.ศ. 2535 ของการก่อตั้งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จึงตั้งชื่อพันธุ์นี้ว่า “เกษตรศาสตร์ 50”<ref>มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. 2552. เอกสารวิชาการการปลูกมันสำปะหลังที่ดี</ref> | ||
== ลักษณะประจำพันธุ์<ref>กรมวิชาการเกษตร. 2552. การจำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง. โรงพิมพ์สำนักงานพุทธศาสนาแห่งชาติ.</ref><ref>กรมส่งเสริมการเกษตร. 2558. คู่มือการจำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง. บริษัท ซัน แพคเกจจิ้ง (2014) จำกัด.</ref> == | |||
{| class="wikitable" | |||
|'''ลักษณะ''' | |||
|'''เกษตรศาสตร์ 50''' | |||
|- | |||
|สียอดอ่อน | |||
|สีม่วง | |||
|- | |||
|การมีขนที่ยอดอ่อน | |||
|ไม่มีขน | |||
|- | |||
|สีก้านใบ | |||
|สีเขียวอมม่วง | |||
|- | |||
|ลักษณะใบ | |||
|ใบหอก | |||
|- | |||
|ลักษณะหูใบ | |||
|ไม่ค่อยพบหูใบ | |||
|- | |||
|ลักษณะทรงต้น/ระดับการแตกกิ่ง | |||
|ลำต้นโค้งยาว แตกกิ่ง 0 – 3 ระดับ | |||
|- | |||
|สีลำต้น | |||
|สีเขียวเงิน | |||
|- | |||
|สีของเปลือกหัว | |||
|สีน้ำตาล | |||
|- | |||
|ลักษณะหัว | |||
|กรวย | |||
|- | |||
|สีเนื้อหัว | |||
|สีขาว | |||
|- | |||
|ลักษณะเด่น | |||
|ปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดี มีความงอกดี เก็บรักษาได้นาน มีปริมาณแป้งสูง | |||
|- | |||
|ข้อจำกัด | |||
|ในบางท้องที่จะแตกกิ่ง ทำให้ไม่สะดวกในการปฏิบัติดูแลรักษา | |||
|- | |||
|เปอร์เซ็นต์แป้งในฤดูฝน (%) | |||
|23 | |||
|- | |||
|เปอร์เซ็นต์แป้งในฤดูแล้ง (%) | |||
|28 | |||
|- | |||
|ผลผลิตหัวสด (ตัน/ไร่) | |||
|4.4 | |||
|} | |||
[[ไฟล์:Imageต้น250.png|center|thumb|430x430px|ภาพแสดงลักษณะทรงต้นมันสำปะหลังเกษตรศาสตร์ 50]] | |||
[[ไฟล์:Image ยอดอ่อน ku 50.png|center|thumb|ภาพแสดงลักษณะยอดอ่อนมันสำปะหลังเกษตรศาสตร์ 50]] | |||
[[ไฟล์:Image หูใบ ku50.png|center|thumb|ภาพแสดงลักษณะหูใบมันสำปะหลังเกษตรศาสตร์ 50]] | |||
[[ไฟล์:Image ก้าน ku 50.png|center|thumb|355x355px|ภาพแสดงลักษณะก้านใบมันสำปะหลังเกษตรศาสตร์ 50]] | |||
[[ไฟล์:Image ใบ ku 50.png|center|thumb|353x353px|ภาพแสดงลักษณะใบมันสำปะหลังเกษตรศาสตร์ 50]] | |||
[[ไฟล์:Image สีต้น ku 50.png|center|thumb|ภาพแสดงลักษณะสีลำต้นมันสำปะหลังเกษตรศาสตร์ 50]] | |||
[[ไฟล์:Image หัว ku50.png|center|thumb|365x365px|ภาพแสดงลักษณะหัวมันสำปะหลังเกษตรศสตร์ 50]] | |||
== อ้างอิง == | |||
[[หมวดหมู่:พันธุ์]] | [[หมวดหมู่:พันธุ์]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 09:12, 3 ธันวาคม 2564
มันสำปะหลังพันธุ์เกษตรศาสตร์ 50 เป็นผลงานวิจัยร่วมกันของ 3 หน่วยงาน คือ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรมวิชาการเกษตร และศูนย์เกษตรเขตร้อนนานาชาติ (Centro Internacional de Agricultura Tropical) หรือเซียท (CIAT) เป็นลูกผสมระหว่างพันธุ์ระยอง 1 กับพันธุ์ระยอง 90 และเนื่องในวาระครบรอบ 50 ปี ใน พ.ศ. 2535 ของการก่อตั้งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จึงตั้งชื่อพันธุ์นี้ว่า “เกษตรศาสตร์ 50”[1]
ลักษณะประจำพันธุ์[2][3][แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
ลักษณะ | เกษตรศาสตร์ 50 |
สียอดอ่อน | สีม่วง |
การมีขนที่ยอดอ่อน | ไม่มีขน |
สีก้านใบ | สีเขียวอมม่วง |
ลักษณะใบ | ใบหอก |
ลักษณะหูใบ | ไม่ค่อยพบหูใบ |
ลักษณะทรงต้น/ระดับการแตกกิ่ง | ลำต้นโค้งยาว แตกกิ่ง 0 – 3 ระดับ |
สีลำต้น | สีเขียวเงิน |
สีของเปลือกหัว | สีน้ำตาล |
ลักษณะหัว | กรวย |
สีเนื้อหัว | สีขาว |
ลักษณะเด่น | ปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดี มีความงอกดี เก็บรักษาได้นาน มีปริมาณแป้งสูง |
ข้อจำกัด | ในบางท้องที่จะแตกกิ่ง ทำให้ไม่สะดวกในการปฏิบัติดูแลรักษา |
เปอร์เซ็นต์แป้งในฤดูฝน (%) | 23 |
เปอร์เซ็นต์แป้งในฤดูแล้ง (%) | 28 |
ผลผลิตหัวสด (ตัน/ไร่) | 4.4 |
อ้างอิง[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
- ↑ มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. 2552. เอกสารวิชาการการปลูกมันสำปะหลังที่ดี
- ↑ กรมวิชาการเกษตร. 2552. การจำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง. โรงพิมพ์สำนักงานพุทธศาสนาแห่งชาติ.
- ↑ กรมส่งเสริมการเกษตร. 2558. คู่มือการจำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง. บริษัท ซัน แพคเกจจิ้ง (2014) จำกัด.