ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การใช้ประโยชน์จากผลผลิตมันสำปะหลัง"
ป้ายระบุ: แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ |
|||
(ไม่แสดง 14 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน) | |||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
1 | |||
1 | |||
1 | |||
== การส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังของประเทศไทย == | == การส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังของประเทศไทย == | ||
บรรทัดที่ 313: | บรรทัดที่ 269: | ||
|9,282 | |9,282 | ||
|} | |} | ||
(ที่มา: สมาคมแป้งมันสำปะหลัง website: <nowiki>http://www.thaitapiocastarch.org/th/information/statistics/export_tapioca_products</nowiki>, 25/03/2564 | (ที่มา: สมาคมแป้งมันสำปะหลัง, 25/03/2564)<ref>สมาคมแป้งมันสำปะหลัง website: <nowiki>http://www.thaitapiocastarch.org/th/information/statistics/export_tapioca_products</nowiki>, 25/03/2564</ref> | ||
[[ไฟล์:ภาพ การทำมันเส้น.jpg|alt=ภาพ การทำมันเส้น|thumb|การสับมันสำปะหลัง]] | |||
==ผลิตภัณฑ์จากมันสำปะหลัง== | ==ผลิตภัณฑ์จากมันสำปะหลัง== | ||
ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังหลักในประเทศไทย ประกอบไปด้วย มันเส้น มันอัดเม็ด แป้งมันสำปะหลังทั้งในรูปของแป้งดิบและแป้งดัดแปร และเอทอนอล ซึ่งทั้งหมดมีการนำไปใช้เป็นวัถตุดิบต่อเนื่องในหลายอุตสาหกรรม ตลาดส่งออกหลักของผลิตภัณฑ์มันเส้น คือ สาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งนำเข้ามันเส้นจากไทยมากกว่าร้อยละ 90 ของปริมาณทั้งหมดที่ส่งออก ส่วนผลิตภัณฑ์มันอัดเม็ดส่วนใหญ่จำหน่ายให้แก่โรงงานอาหารสัตว์หรือผู้ส่งออก โดยมีตลาดหลักคือ สหภาพยุโรป สำหรับแป้งมันสำปะหลังมีการจำหน่ายทั้งภายในและต่างประเทศ ตลาดส่งออกแป้งมันสำปะหลังหลักของไทย ได้แก่ ญี่ปุ่น ไต้หวัน จีน และอินโดนีเซีย | ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังหลักในประเทศไทย ประกอบไปด้วย มันเส้น มันอัดเม็ด แป้งมันสำปะหลังทั้งในรูปของแป้งดิบและแป้งดัดแปร และเอทอนอล ซึ่งทั้งหมดมีการนำไปใช้เป็นวัถตุดิบต่อเนื่องในหลายอุตสาหกรรม ตลาดส่งออกหลักของผลิตภัณฑ์มันเส้น คือ สาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งนำเข้ามันเส้นจากไทยมากกว่าร้อยละ 90 ของปริมาณทั้งหมดที่ส่งออก ส่วนผลิตภัณฑ์มันอัดเม็ดส่วนใหญ่จำหน่ายให้แก่โรงงานอาหารสัตว์หรือผู้ส่งออก โดยมีตลาดหลักคือ สหภาพยุโรป สำหรับแป้งมันสำปะหลังมีการจำหน่ายทั้งภายในและต่างประเทศ ตลาดส่งออกแป้งมันสำปะหลังหลักของไทย ได้แก่ ญี่ปุ่น ไต้หวัน จีน และอินโดนีเซีย<ref name=":2">ปรารถนา ปรารถนาดี, จิรชัย พุทธกุลสมศิริ, เจริญชัย โขมพัตราภรณ์ และชุมพร มณฑาทิพย์กลุ. 2552. การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ของผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังในประเทศไทย. รายงานวิจัย. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. 318 หน้า.</ref> ประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังมากเป็นอับดับหนึ่งของโลก<ref>Food and Agricultural Organization of the United Nations [FAO]. 2009. FAOSTAT. <nowiki>http://faostat.fao.org</nowiki>.</ref> ในปีเพาะปลูก 2550-2551 ประเทศไทยมีปริมาณผลผลิตมันสำปะหลังสูงถึง 25.57 ล้านตัน<ref name=":0" /> ซึ่งปริมาณผลผลิตมันสำปะหลังยังมีแนวโนมจะเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ เนื่องจากความต้องการมันสำปะหลังเพื่อใช้ในประเทศและเพื่อส่งออกยังคงเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง<ref name=":2" /> | ||
เนื่องจากหัวสำปะหลังมันสดไม่สามารถเก็บรักษาไว้ได้นาน เน่าเสียหายได้ง่าย จึงมักจะมีการแปรรูปเพื่อให้สามารถเก็บไว้บริโภคได้นานวัน มักนำไปหมักก่อนแล้วจึงนำไปปรุงเป็นอาหาร เช่น นึ่ง ทอด ย่าง หรือ นำหัวสดไปบดใส่ถุงทับให้แห้งทิ้งไว้ 4 วัน ระหว่างนั้นจะเกิดการหมัก จากนั้นจึงนำไปทอด หรือ นำไปแช่ในน้ำไหลหลาย ๆ วัน แล้วนำไปนึ่งเพื่อเป็นอาหาร นอกจากใช้เป็นอาหารหลักแล้ว ยังทำอาหารได้หลายรูปแบบ เช่น ทำเป็นแป้งมันเพื่อนำไปประกอบอาหาร หัวสดยังนำมาเป็นมันทอดได้โดยปอกเปลือกแล้วฝานเป็นแผ่นบาง ๆ ก่อนนำไปทอด คนไทยนิยมนำมาเชื่อมและย่าง ทำเป็นขนมมันนึ่งมะพร้าวและน้ำตาล<ref name=":1" /> | |||
=== '''มันเส้นสะอาด''' (cassava chip) === | |||
การแปรรูปมันสำปะหลังที่นิยมมากที่สุดคือการทำมันเส้น เมื่อเก็บเกี่ยวหัวมันสดแล้วนำมาตัดเป็นชิ้นเล็ก ๆ ด้วยเครื่องตัด แล้วตากแห้งเพื่อส่งขายเป็นวัตถุดิบให้อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ หรืออุตสาหกรรมมันอัดเม็ด หรือใช้ทดแทนธัญพืชอื่นที่ให้พลังงาน เช่น ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ข้าวสาลี เพราะมีราคาต่ำกว่า โดยหัวมันสำปะหลังสดปริมาณ 2.5 กิโลกรัม <ref>มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย. สืบค้น 10 มีนาคม 2564. <nowiki>https://www.tapiocathai.org/Mainpage.html</nowiki>.</ref>จะผลิตเป็นมันเส้นได้ 1 กิโลกรัม มันเส้น ประกอบไปด้วย แป้ง (polarimetric) 70-75 เปอร์เซ็นต์ โปรตีน 2 เปอร์เซ็นต์ ความชื้น 11 เปอร์เซ็นต์ เยื่อใย 2 เปอร์เซ็นต์ และดินทราย 1 เปอร์เซ็นต์ | |||
'''ขั้นตอนการทำมันเส้นสะอาด มีดังนี้''' | |||
# ทำความสะอาดสิ่งเจือปนที่ติดมากับหัวมัน | |||
# นำหัวมันที่สะอาดแล้วใส่เครื่องป้อน (กรณีที่ใช้เครื่องป้อน) หรือ ใส่เครื่องตัด หรือ ใช้มีดหั่นเป็นชิ้น ๆ | |||
# นำชิ้นหัวมันที่หั่นแล้วไปตากแดดบนลานคอนกรีต (ลานตาก) หรือพื้นที่ปูด้วยวัสดุ เช่น เสื่อ ตะแกรงไม้ไผ่ | |||
# ระหว่างการตากแดดจะต้องใช้คราดพลิกด้าน มันเส้นทุก ๆ 1 - 2 ชั่วโมง อาจใช้คนงาน หรือรถ แทรกเตอร์ก็ได้ เมื่อมันเส้นแห้งดีแล้วก็ส่งขายต่อไป | |||
=== ''' | '''ข้อดีของการใช้มันเส้นเป็นอาหารสัตว์''' | ||
# ประกอบด้วยแป้งเป็นหลัก สัตว์กระเพาะเดี่ยวและสัตว์ปีกย่อยได้ง่ายกว่าข้าวโพดเมล็ดและข้าวฟ่างเมล็ด และเป็นแหล่งแป้งและน้ำตาลที่ดีในการเร่งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ในกระเพาะหมักของโค-กระบือ | |||
# มีการปนเปื้อนของสารพิษจากเชื้อราโดยเฉพาะอะฟลาทอกซินน้อยมาก เมื่อเปรียบเทียบกับข้าวโพดเมล็ด | |||
# มักพบจุลินทรีย์กลุ่มแลคโตบาซิลลัสและยีสต์ที่เป็นประโยชน์ต่อสัตว์ ช่วยให้สัตว์เลี้ยงมีสุขภาพดี | |||
# สามารถใช้ทดแทนวัตถุดิบธัญพืช เช่น ข้าวโพดเมล็ด ข้าวฟ่างเมล็ด ปลายข้าว ซึ่งเป็นวัตถุดิบประเภทพลังงาน หรือแป้งเช่นเดียวกันได้อย่างเต็มที่ในสูตรอาหารสัตว์ทุกชนิด | |||
'''เครื่องจักรกลผลิตมันเส้น''' | |||
เครื่องหั่นชิ้นมันเส้นมีหลักการทำงานโดยป้อนหัวมันสำปะหลังเข้าสู่ส่วนทำความสะอาด ซึ่งใช้หลักการขัดสีของวัสดุกับผิววัตถุดิบในน้ำ ขัดผิวและล้างให้สะอาด แล้วลำเลียงส่งเข้าชุดใบมีดที่ใช้หลักการเฉือนได้เป็นชิ้นมันเส้นสะอาด เครื่องหั่นใช้ต้นกำลังขับในเพลาเดียวกันทำให้ทุกส่วนทำงานต่อเนื่องพร้อมกัน<ref>วิรัตน์ หวังเขื่อนกลาง. 2555. เครื่องหั่นชิ้นมันเส้น. การประชุมวิชาการสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 13. หน้า 148-155.</ref> | |||
''' ''' เครื่องสับมันแบบจานนอนและเครื่องสับมันที่พัฒนาขึ้นสามารถสับมันเป็นแผ่นแต่ยังไม่สม่ำเสมอเท่าที่ควร ซึ่งถ้าเป็นลักษณะของมันเส้นที่ผ่าน การสับด้วยเครื่องสับแบบจานรูของลานมันสำปะหลังทั่วไปจะมีลักษณะเป็นก้อนไม่สม่ำเสมอเช่นกัน<ref name=":3">อนุชิต ฉ่ำสิงห์, ปรีดาวรรณ ไชยศรีชลธาร, ปรีชา อานันท์รัตนกุล, นิทัศน์ ตั้งพินิจกุล, จิราวัสส์ เจียตระกูล, ประสาท แสงพันธุ์ตา, วุฒิพล จันทร์สระคู, ศักดิ์ชัย อาษาวัง และกอบชัย ไกรเทพ. 2558. วิจัยและพัฒนาเครื่องจักรสำหรับทำมันเส้นสะอาด. กรมวิชาการเกษตร: 28 หน้า.</ref> | |||
จานตัดของเครื่องตัดแบบจานหมุน โดยดัดแปลงจานตัดแบบเดิมที่ทำให้ชิ้นมันมีขนาดไม่แน่นอน และมีขนาดใหญ่ ทำให้การตากใช้เวลานาน เนื่องจากต้องการให้ชิ้นมันมีขนาดเล็กลง และมีรูปแบบของชิ้นมันที่เป็นรูปแบบเดียวกันมากขึ้น ซึ่งหลังการออกแบบพบว่าสมรรถนะการตัดลดลงจาก 9-11 ตันต่อชั่วโมง เป็น 6-8 ตันต่อชั่วโมง และขนาดชิ้นเล็กลง โดยชิ้นมันมีขนาดเฉลี่ย 5×2.4×0.6 เซนติเมตร<ref>Thanh, N.C., S. Muttamara, B.N. Lohani, B.V.P.C. Raoand and S. Burintaratiku. 1979. Optimization of drying and pelleting techniques for tapioca roots. </ref> | |||
เครื่องสับมันสำปะหลังแบบใบมีดโยก สำหรับผลิตชิ้นมันเส้นสะอาดเพื่อเป็นส่วนผสมอาหารสำหรับโคนม เครื่องต้นแบบมีส่วนประกอบหลักคือ ชุดทำความสะอาดหัวมันสำปะหลังที่มีลักษณะเป็นตะแกรงหมุนเพื่อแยกสิ่งเจือปน ชุดป้อนหัวมันเข้าสู่ชุดใบมีดสับ ชุดใบมีดสับสร้างขึ้นเพื่อให้เป็นรูปแบบการสับตามขวาง และตัดแยกชิ้นมันเป็นรูปทรงแท่งยาว<ref>ธวัชชัย ทิวาวรรณวงศ์ และ วิรัตน์ หวังเขื่อนกลาง. 2548. การศึกษาเครื่องสับมันสำปะหลังแบบใบมีดโยกสำหรับผลิตชิ้นมันเส้น. การประชุมวิชาการครั้งที่ 6 ประจำปี 2548 สมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย.</ref> | |||
'''ข้อดีข้อเสียของเครื่องสับหัวมัน''' | |||
เครื่องสับหัวมันที่พัฒนาขึ้นสามารถสับมันเป็นแผ่น ซึ่งถ้าเป็นลักษณะของมันเส้นที่ผ่านการสับด้วยเครื่องสับแบบจานรูของลานมันสำปะหลังทั่วไปจะมีลักษณะเป็นก้อนไม่สม่ำเสมอ ซึ่งไม่มีความเหมาะสมต่อการอบแห้งเนื่องจากการอบแห้งจะแห้งไม่พร้อมกัน ทำให้สูญเสียพลังงานในการลดความชื้นมากขึ้น ทั้งนี้ต้องมีการศึกษาการตัดหัวมันสำปะหลังสดด้วยเครื่องตัดชนิดอื่นเพื่อให้ได้ชิ้นมันที่มีขนาดสม่ำเสมอมากขึ้นสอดคล้องกับระยะเวลาที่เหมาะสมในการตากแห้งเพื่่อลดความชื้น และลดการเกิดชิ้นมันขนาดเล็กซึ่งเป็นต้นเหตุของฝุ่นผง จะเป็นการปรับปรุงคุณภาพของกระบวนการผลิตมันสำปะหลังเส้นของประเทศให้สูงขึ้นกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งจะเป็นผลดีกับเกษตรกรผู้ผลิตหัวมันสำปะหลังสด และผู้ประกอบการโรงงานมันเส้นรวมทั้งทำให้การส่งออกผลิตภัณฑ์มันเส้นไปต่างประเทศมีความยั่งยืน และเป็นที่น่าเชื่อถือในระยะยาวต่อไป<ref name=":3" /> | |||
=== '''แป้ง (starch)''' === | |||
แป้งที่สกัดเอาเยื่อใยออกแล้วใช้เป็นส่วนประกอบของอาหารมนุษย์ และเป็นเครื่องปรุงอาหารหลายชนิด เช่น ใช้ทำวุ้นเส้น ทำเบียร์ ใช้ในอุตสาหกรรม เช่น เป็นตัวทำให้สารติดแน่น คงรูปร่าง ใช้ในอุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมซักรีด อุตสาหกรรมทำกระดาษ แป้งเปียก แอลกอฮอล์ อะซีโตน ยา กลูโคส และแป้งดัดแปรโดยสามารถแบ่งได้ตามลักษณะการผลิต<ref name=":4">วิจารณ์ วิชชุกิจ, ปิยะ กิตติภาดากุล, วัชรี เลิศมงคล, ณรงค์ สิงห์บุระอุดม, กล้าณรงค์ ศรีรอด และ ปิยะ ดวงพัตรา. มันสำปะหลัง. โครงการการแปรปรูปและการใช้ประโยชน์มันสำปะหลัง. หน่วยปฏิบัติการเทคโนโลยีแประรูปมันสำปะหลังและแป้ง สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2542. 20 หน้า.</ref> แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ | |||
# แป้งดิบหรือแป้งมันสำปะหลังดิบ (native starch) เป็นแป้งที่ได้จากหัวมันสดด้วยขบวนการแยกกากโปรตีน และองค์ประกอบอื่น ๆ ปัจจุบันมีโรงงานประมาณ 85 โรงงาน ทั่วประเทศไทย มีกำลังการผลิตรวมทั้งสิ้น 2 - 2.5 ล้านต้นต่อปี มีผลผลิตเฉลี่ยทั้งอุตสาหกรรม ประมาณ 1.76 ล้านตันต่อปี | |||
# แป้งมันสำปะหลังดัดแปร (modified starch) ได้จากการนำแป้งมันสำปะหลังดิบมาเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางโมเลกุลให้เหมาะสมกับการใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ โดยปกติการผลิตแป้งมันสำปะหลังแปรรูปใช้อัตราแป้งดิบ 1 กิโลกรัม ได้แป้งแปรรูป 0.93 กิโลกรัม | |||
'''แป้งข้าวเหนียวมันสำปะหลัง (waxy cassava)''' : ศูนย์เกษตรเขตร้อนนานาชาติ (CIAT) ได้พัฒนาเพิ่มมูลค่าของพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อเพิ่มโอกาสในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ โดยไม่เน้นเพียงการเพิ่มหรือรักษาเสถียรภาพของการผลิตแต่เป็นการพัฒนาลักษณะต่าง ๆ ให้ตรงกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม เช่น การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังที่มีโปรตีนสูงสำหรับผลิตเป็นอาหารสัตว์ การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังที่เป็นแป้งข้าวเหนียว (waxy starch) ใช้สำหรับอุตสาหกรรมแป้ง ซึ่งทางศูนย์เกษตรเขตร้อนนานาชาติ (CIAT) มองว่าอุตสาหกรรมแป้งข้าวเหนียว (waxy starch) จะเป็นอุตสาหกรรมที่กอให้เกิดการเพิ่มมูลค่าทางเศณษฐกิจแก่ประเทศไทย<ref>สุดเขตต์ นาคะเสถียร. 2552.การพัฒนาพันธุ์มันสำปะหลังข้าวเหนียวของไทยสำหรับอุตสาหกรรมแป้งและเพื่อส่งออก. หนังสือสมาคมแป้งมันสำปะหลังไทย2552.</ref> โดยแป้ง waxy ได้จากการนำแป้งไปต้มจนอุณหภูมิสูงกว่าอุณหภูมิข้นใส (gelatinization temperature) เม็ดแป้งจะพองตัวตามการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิ การพองตัวและการทำลาย (disruption) ของเมล็ดแป้งเป็นเทคโนโลยีที่สำคัญอย่างหนึ่ง โดยวิธีที่ดีที่สุดที่ใช้เปลี่ยนแปลงความหนืดในระหว่างต้มแป้ง คือการใช้เครื่องวัดความหนืด (Rapid visco amylograph เรียกย่อว่า RVA) โดยมีหลักการในการวัดความหนืดของแป้งพร้อมการกวนตลอดเวลา ขณะที่ให้ความร้อนในอัตราอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอ แล้วทิ้งไว้ที่อุณหภูมิที่ต้องการระยะหนึ่ง แล้วทำให้เย็นลงโดยการลดอุณหภูมิในอัตราที่ลดลงอย่างสม่ำเสมอเช่นเดียวกัน<ref>อรพิน ภูมิภมร, เทคโนโลยีของแป้ง. 2533. เคมีของแป้งและเทคโนโลยีผลิตภัณฑ์จากแป้งบางชนิดที่ผลิตในประเทศไทย. ระบบชีวภาพที่สำคัญต่อเทคโนโลยีชีวภาพ. เล่มที่ 5. 212 หน้า.</ref> จากนั้นนำมาวัดความหนืดแป้ง ยิ่งแป้งมีความหนืดมากราคาก็จะดีตามไปด้วย | |||
'''ประโยชน์จากแป้งมันสำปะหลัง'''<ref name=":4" /> | |||
# แป้งมันสำปะหลังที่นิยมใช้มากที่สุดคือ การบริโภคในครัวเรือน กล่าวคือคนไทยบริโภคแป้งมันสำปะหลังประมาณ 7 กิโลกรัมต่อคนต่อปี ซึ่งจะเป็นการปรุงอาหารประจำวันในบ้านเรือนหรือร้านค้าทั่วไป ถ้ามีการพัฒนาสูตรอาหารหรือมีการใช้บริโภคในครัวเรือนมากขึ้น ก็จะเป็นการเพิ่มปริมาณการใช้แป้งมันสำปะหลังมากขึ้นอีกด้วย | |||
# อุตสาหกรรมแป้งดัดแปร โดยแป้งที่ผลิตได้ส่วนใหญ่จะถูกนำมาเป็นวัตถุดิบสำหรับปฏิกิริยาเคมี เพื่อให้แป้งมีคุณสมบัติพิเศษ เช่น เหนียวขึ้น ทนความร้อน ทนกรดดีขึ้น แป้งมันสำปะหลังเหมาะสมมากสำหรับการผลิตเป็นแป้งดัดแปร ปริมาณการใช้แป้งเพื่ออุตสาหกรรมแป้งดัดแปรมีมากประมาณกว่า 3 แสนตันต่อปี | |||
# ใช้ทำผงชูรสและไลซีน โดยผ่านแระบวนการหมักด้วยจุลินทรีย์ที่จำเพาะ | |||
# สารให้ความหวาน ที่ได้จากการย่อยแป้งให้เล็กลงเป็นหน่วยของน้ำตาลต่าง ๆ มีความจำเป็นต้องใช้ในอุตสาหกรรมขนมหวาน ลูกกวาด ยาสีฟัน และยา การใช้แป้งผลิตสารให้ความหวานแต่ละปีมีปริมาณมากกว่าหนึ่งแสนตัน | |||
# อุตสาหกรรมอาหาร และสาคู โดยทั่ว ๆ ไปใช้แป้งเป็นตัวทำให้เหนียวสร้างลักษณะเงาวาว และน้ำหนักให้กับเนื้ออาหาร ส่วนสาคูเป็นอุตสาหกรรมที่ทำจากการเอาแป้งมาขึ้นรูป โดยเครื่องเขย่าให้จับกันเป็นก้อน และร่อนเพื่อคัดขนาดที่ต้องการ คั่วและอบแห้งเป็นเม็ด ๆ เรียกว่าเม็ดสาคู ปริมาณการใช้แป้งประมาณ 1 แสนตันต่อปี ทั้งยังมีผลิตภัณฑ์เม็ดไข่มุกที่ผลิตจากแป้งมันสำปะหลังจะให้เนื้อสัมผัสที่เป็นแบบฉบับในรสและเนื้อเจล มีรสชาติแตกต่างไปตามส่วนผสมที่ใส่ เช่น น้ำตาล สารแต่งรสอื่นๆ มีหลายสีและเนื้อสัมผัส ที่เรียกกันว่า “ไข่มุก” | |||
# อุตสาหกรรมกระดาษ (ยกเว้นกระดาษบางชนิด เช่น กระดาษชำระ) มีแป้งเป็นตัวประสาน และเคลือบอยู่ประมาณร้อยละ 5 ของน้ำหนักกระดาษ การใช้กระดาษมีปริมาณเพิ่มขึ้นทุกปี มีการใช้แป้งมันสำปะหลังและแป้งดัดแปรในอุตสาหกรรมกระดาษโดยประมาณ 1 แสนตันต่อปี | |||
# อุตสาหกรรมสิ่งทอ ในการเคลือบเส้นใยของผ้าจำเป็นที่จะต้องใช้แป้งเคลือบ ปกตินิยมใช้แป้งดัดแปรโดยปริมาณแป้งที่ใช้เท่ากับร้อยละ 1 ของน้ำหนัก และมีปริมาณการใช้ประมาณ 2 หมื่นกว่าตันต่อปี | |||
# อุตสาหกรรมไม้อัดและกาว แป้งใช้ผสมสารเคมีต่าง ๆ เป็นกาวติดกระดาษ เช่น กระดาษลูกฟูก รวมทั้งใช้ในอุตสาหกรรมไม้อัดด้วย มีปริมาณการใช้ประมาณ 3 หมื่นตันต่อปี | |||
# การใช้แป้งในส่วนอื่น ๆ เช่น ในการผลิตยาเม็ด | |||
=== '''การใช้ประโยชน์จากกากมันสำปะหลังเพื่อผลิตเป็นน้ำตาล''' === | === '''การใช้ประโยชน์จากกากมันสำปะหลังเพื่อผลิตเป็นน้ำตาล''' === | ||
สวลี และคณะ (2555) รายงานว่าประเทศไทยมีผลผลิตมันสำปะหลังเป็นอันดับ 3 ของโลก โดยคิดเป็นประมาณ 12 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณผลผลิตรวมทั้งโลก รองจากประเทศไนจีเรีย และบราซิล และมีผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังส่งออกเป็นอันดับ 1 ของโลก ซึ่งมีส่วนแบ่งทางการตลาดไม่ต่ำกว่า 80 เปอร์เซ็นต์ของทั่วโลก จากกระบวนการผลิตแป้งมันสำปะหลังมีส่วนเหลือเป็นกากมันสำปะหลัง 1.11 เปอร์เซ็นต์ของผลผลิตมันสำปะหลังที่เข้าโรงงานอุตสาหกรรม หรือ ประมาณสองล้านตันต่อปี หากสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้จะเป็นการสร้างประโยชน์จากของเหลือทิ้งและลดปัญหาทางมลภาวะกับสิ่งแวดล้อมได้ | สวลี และคณะ (2555)<ref>สวลี ดีประเสริฐ, ศุภชัย บุญนำมา, วิทยา บุตรทองมูล, บุปผา ชินเชิดวงศ์ และ วีระ โลหะ. 2555. การใช้ประโยชน์จากกากมันสำปะหลังเพื่อผลิตเป็นน้ำตาล. งานประชุมวิชาการระดับชาติ. มหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 22. 3:39-46.</ref> รายงานว่าประเทศไทยมีผลผลิตมันสำปะหลังเป็นอันดับ 3 ของโลก โดยคิดเป็นประมาณ 12 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณผลผลิตรวมทั้งโลก รองจากประเทศไนจีเรีย และบราซิล และมีผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังส่งออกเป็นอันดับ 1 ของโลก ซึ่งมีส่วนแบ่งทางการตลาดไม่ต่ำกว่า 80 เปอร์เซ็นต์ของทั่วโลก จากกระบวนการผลิตแป้งมันสำปะหลังมีส่วนเหลือเป็นกากมันสำปะหลัง 1.11 เปอร์เซ็นต์ของผลผลิตมันสำปะหลังที่เข้าโรงงานอุตสาหกรรม หรือ ประมาณสองล้านตันต่อปี หากสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้จะเป็นการสร้างประโยชน์จากของเหลือทิ้งและลดปัญหาทางมลภาวะกับสิ่งแวดล้อมได้ | ||
จากการที่เชื้อจุลินทรีย์ในธรรมชาติจะย่อยสลายสารประกอบอินทรีย์ในกากมันสำปะหลัง โดยกากมันสำปะหลังสามารถนำมาผลิตสารตั้งต้น และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น สารตั้งต้นประเภทน้ำตาลนำไปใช้กับอุตสาหกรรมอาหาร เครื่องดื่ม สารให้ความหวาน และผลิตเป็นเอทานอลได้ | จากการที่เชื้อจุลินทรีย์ในธรรมชาติจะย่อยสลายสารประกอบอินทรีย์ในกากมันสำปะหลัง โดยกากมันสำปะหลังสามารถนำมาผลิตสารตั้งต้น และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น สารตั้งต้นประเภทน้ำตาลนำไปใช้กับอุตสาหกรรมอาหาร เครื่องดื่ม สารให้ความหวาน และผลิตเป็นเอทานอลได้ | ||
ลัดดาวัลย์ (2556) รายงานภาพรวมแล้วกากมันสำปะหลังมีโปรตีนอยู่ในช่วง 1.55–3.42 เปอร์เซนต์ ไขมัน 0.12–0.53 เปอร์เซนต์ เถ้า 1.70–5.73 เปอร์เซนต์ เยื่อใย 10.38 – 15.26 เปอร์เซ็นต์ และแป้ง 47.97–68.89 เปอร์เซ็นต์ อย่างไรก็ตามองค์ประกอบทางโภชนาการมีความแปรผันขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น คุณภาพของมันสำปะหลังที่นำมาใช้ในกรรมวิธีการสกัดแป้ง สายพันธุ์มันสำปะหลัง อายุการเก็บเกี่ยว ความสมบูรณ์ของดิน และสภาพแวดล้อมในพื้นที่ปลูก รวมทั้งกระบวนการผลิตที่แตกต่างกันของแต่ละโรงงาน | ลัดดาวัลย์ (2556)<ref>ลัดดาวัลย์ หอกกิ่ง. 2556. ผลของการใช้กากามันสำปะหลังต่อการย่อยได้ของโภชนะ สมรรถนะ การผลิตคุณภาพไข่ คอเลสเตอรอลในไข่แดง และการเปลี่ยนแปลงประชาการจุลินทรีย์ของไก่ไข่. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์. 111 หน้า.</ref> รายงานภาพรวมแล้วกากมันสำปะหลังมีโปรตีนอยู่ในช่วง 1.55–3.42 เปอร์เซนต์ ไขมัน 0.12–0.53 เปอร์เซนต์ เถ้า 1.70–5.73 เปอร์เซนต์ เยื่อใย 10.38 – 15.26 เปอร์เซ็นต์ และแป้ง 47.97–68.89 เปอร์เซ็นต์ อย่างไรก็ตามองค์ประกอบทางโภชนาการมีความแปรผันขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น คุณภาพของมันสำปะหลังที่นำมาใช้ในกรรมวิธีการสกัดแป้ง สายพันธุ์มันสำปะหลัง อายุการเก็บเกี่ยว ความสมบูรณ์ของดิน และสภาพแวดล้อมในพื้นที่ปลูก รวมทั้งกระบวนการผลิตที่แตกต่างกันของแต่ละโรงงาน | ||
[[ไฟล์:การตัดหัวมันสำปะหลังโดยใช้แรงงานคน.png|alt=การตัดหัวมันสำปะหลังโดยใช้แรงงานคน|thumb|การตัดหัวมันสำปะหลังโดยใช้แรงงานคน]] | |||
=== '''Flour''' === | === '''Flour''' === | ||
เป็นแป้งที่ไม่ได้สกัดเยื่อใยออก ผลิตโดยนำหัวมันสดมาปอกเปลือก หั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ ตากแห้งแล้วป่นให้ละเอียด จากนั้นร่อนด้วยตะแกรงร่อนแป้ง จะได้แป้งดิบที่สามารถนำมาใช้ทำขนมอบชนิดต่าง ๆ ได้คล้ายแป้งสาลี เช่น นำมาทำเค้ก แพนเค้ก ขนมปัง คุกกี้ พาย ใช้ทดแทนแป้งสาลีหรือแป้งข้าวเจ้าได้บางส่วนในอาหารบางชนิด ( | เป็นแป้งที่ไม่ได้สกัดเยื่อใยออก ผลิตโดยนำหัวมันสดมาปอกเปลือก หั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ ตากแห้งแล้วป่นให้ละเอียด จากนั้นร่อนด้วยตะแกรงร่อนแป้ง จะได้แป้งดิบที่สามารถนำมาใช้ทำขนมอบชนิดต่าง ๆ ได้คล้ายแป้งสาลี เช่น นำมาทำเค้ก แพนเค้ก ขนมปัง คุกกี้ พาย ใช้ทดแทนแป้งสาลีหรือแป้งข้าวเจ้าได้บางส่วนในอาหารบางชนิด<ref name=":1" /> | ||
=== '''การใช้มันสำปะหลังเป็นอาหารสัตว์''' === | |||
มันสำปะหลังเป็นพืชที่ปลูกดูแลรักษาง่าย มีศัตรูธรรมชาติน้อย ดังนั้นราคาของผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังจึงต่ำกว่าธัญพืช และยังเหมาะที่จะใช้เป็นแหล่งคาร์โบไฮเดรตสำหรับการนำมาผสมกับหัวอาหารเป็นอาหารสัตว์ เช่น สุกร ไก่ ปลา และปศุสัตว์ แต่ยังต้องเพิ่มวิตามิน เกลือแร่ และกรดอะมิโนบางตัว เช่น เลี้ยงไก่ต้องเสริมสารอาหารและสารที่มีคุณสมบัติต้านอนุมูลอิสระเพิ่มเติม ในปัจจุบันทั่วโลกนิยมนำมันสำปะหลังมาเลี้ยงสัตว์มากขึ้นเนื่องจากราคาต่ำกว่าธัญพืช | |||
ประเทศไทยส่งมันสำปะหลังออกขายในรูปอัดเม็ดและมันเส้น ในปริมาณกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ของผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังที่ส่งออกทั้งหมด ตลาดที่สำคัญของไทยคือประชาคมเศษฐกิจยุโรป ส่วนแป้งส่งขายให้ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา อินโดนีเซีย และประเทศอื่น ๆ อย่างไรก็ตามเรามักจะมีปัญหาเกี่ยวกับการกีดกันทางการค้าและกฎเกณฑ์การนำเข้ามันสำปะหลังในรูปอาหารสัตว์ในประชาคมเศษฐกิจยุโรป ซึ่งทำให้มันสำปะหลังจากไร่เกษตรกรมีราคาต่ำและแปรปรวนมาก จึงควรนำมันสำปะหลังไปใช้ประโยชน์ในด้านอื่น ๆ เพิ่มขึ้นเพื่อเพิ่มมูลค่าหัวมันสำปะหลังให้สูงขึ้น<ref name=":1" /> | |||
'''คุณค่าทางโภชนาการของมันเส้นหรือมันอัดเม็ด'''<ref>อุทัย และคณะ (2540)<nowiki>http://nutrition.dld.go.th/Nutrition_Knowlage/ARTICLE/new_article/cassava2.htm</nowiki></ref> | |||
มันเส้นหรือมันอัดเม็ดจัดเป็นวัตถุดิบประเภทแป้ง เช่นเดียวกับข้าวโพด และปลายข้าว แต่มันเส้นหรือมันอัดเม็ดมีปริมาณโปรตีนที่ต่ำกว่า การแก้ปัญหาโปรตีนต่ำในมันเส้นหรือมันอัดเม็ดสามารถทำได้โดยการเพิ่มวัตถุดิบอาหารโปรตีนสูง เช่น กากถั่วเหลืองในสูตรอาหารให้สูงขึ้น ก็จะช่วยให้มันเส้นหรือมันอัดเม็ดมีคุณค่าทางโภชนาการใกล้เคียงกับข้าวโพดหรือปลายข้าว และสามารถทดแทนข้าวโพดหรือปลายข้าวในสูตรอาหารเลี้ยงสัตว์ได้ | |||
'''การใช้ใบมันสำปะหลังแห้งในสูตรอาหารสัตว์'''<ref name=":5">สุกัญญา จัตตุพรพงษ์ และ วราพันธุ์ จินตณวิชญ์. ม.ป.ป.. ศูนย์ค้นคว้าและพัฒนาวิชาการอาหารสัตว์ สถาบันสุวรรณวาจกกสิกิจ ฯ. <nowiki>http://www3.rdi.ku.ac.th/exhibition/51/Trade/trade_05-01/trade_05_1.htm</nowiki>. 11/03/2564.</ref> | |||
แม้ว่าใบมันสำปะหลังจะมีสารพิษสำคัญ 2 ชนิด คือกรดไฮโดรไซยานิคและสารแทนนิน แต่ในใบมันแห้งจะมี เหลืออยู่ในระดับต่ำมาก เช่นเดียวกับในมันเส้นที่กรดไฮโดรไซยานิคระเหยออกไประหว่างผึ่งแดด จนเหลือในระดับที่ไม่เป็นอันตรายสำหรับสัตว์ นอกจากนี้กรดไฮโดรไซยานิคในระดับต่ำดังกล่าวนี้กลับช่วยกระตุ้นให้เกิดระบบที่ทำให้สัตว์มีความต้านทานโรคเพิ่มขึ้นอีกด้วย | |||
มีขั้นตอนดังต่อไปนี้ | |||
# เก็บใบมันสำปะหลัง ซึ่งควรเก็บใบมันสำปะหลังจากต้นก่อนทำการเก็บเกี่ยวหัวมัน เนื่องจากการเก็บใบมันสำปะหลังหลังการเกี่ยวแล้วนั้นอาจทำได้ไม่สะดวก และไม่สามารถเก็บใบมันสำปะหลังในแปลงได้หมด อย่างไรก็ตามควรเก็บใบมันก่อนการขุดหัวมันไม่เกิน 12– 24 ชั่วโมง เพื่อไม่ให้มีผลกระทบต่อเปอร์เซ็นต์แป้งในหัวมันสำปะหลัง | |||
# การเก็บใบมันนั้นควรเด็ดจากส่วนยอดบริเวณที่มีสีเขียวยาวลงมาประมาณ 20 เซนติเมตร ส่วนที่เหลือเด็ดเฉพาะใบกับก้านใบเท่านั้น และไม่ควรเก็บส่วนของลำต้นติดมาด้วย เนื่องจากจะทำให้ใบมันสำปะหลังที่ได้มีคุณภาพต่ำ กล่าวคือโปรตีนต่ำ เยื่อใยสูง และส่วนก้านกับลำต้นยังทำให้แห้งได้ช้าอีกด้วย | |||
# เมื่อเก็บใบมันมาแล้วควรตากหรือผึ่งแดดให้เร็วที่สุด เนื่องจากการเก็บไว้ในกระสอบหรือกองไว้ ทำให้เกิดความร้อนขึ้น ส่งผลให้ใบมันสำปะหลังมีลักษณะตายนึ่ง ใบมันสำปะหลังที่ได้เป็นสีน้ำตาล ไม่เป็นสีเขียว ทั้งยังทำให้มีการสูญเสียวิตามินเอและสารสีในใบมันไปด้วย | |||
# นำใบมันสำปะหลังที่เก็บได้มาตากหรือผึ่งแดดให้แห้ง โดยอาจสับเป็นชิ้น ซึ่งจะทำให้ตากแห้งเร็วขึ้น ระหว่างการตาก ควรกลับใบมันสำปะหลังไปมาเป็นระยะ ๆ เพื่อให้ส่วนใบและก้านแห้งได้ทั่วถึง โดยตากหรือผึ่งแดด นาน 2 – 3 แดด ซึ่งใบมันแห้งที่ได้นี้สามารถนำไปใช้เป็นวัตถุดิบอาหารโค – กระบือได้ทันที ส่วนในสัตว์กระเพาะเดี่ยวพวกสุกรและสัตว์ปีกต้องนำไปบดให้ละเอียดก่อนนำไปใช้ผสมกับวัตถุดิบชนิดอื่น | |||
ข้อแนะนำการใช้ ในสูตรอาหารสุกรรุ่น-ขุน และแม่พันธุ์ ให่ใช้ในระดับไม่เกิน 10-15 เปอร์เซ็นต์ อาหารสัตว์ปีกไม่เกิน 5-7 เปอร์เซ็นต์ อาหารผสมรวม (TMR) สำหรับโค-กระบือ 10-20 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งเป็นระดับที่จะไม่มีปัญหาจากสารพิษทั้งสองชนิดดังกล่าวข้างต้น | |||
'''คุณค่าทางโภชนาการของใบมันสำปะหลังแห้ง'''<ref name=":5" /> | |||
คุณค่าทางโภชนาการของใบมันสำปะหลังจะผันแปรตามปริมาณส่วนใบกับก้านและลำต้นที่ติดมา ถ้ามีส่วนใบมากโปรตีนก็จะสูง ถึง 19.69 เปอร์เซ็นต์ ความชื้น 8.76 เปอร์เซ็นต์ ไขมัน 3.68 เปอร์เซ็นต์ เยื่อใย 22.78 เปอร์เซ็นต์ เถ้า 8.56 เปอร์เซ็นต์ แคลเซี่ยม 1.69 เปอร์เซ็นต์ และฟอสฟอรัส 0.20 เปอร์เซ็นต์ พลังงานใช้ประโยชน์ได้ในสุกร 2,868 กิโลแคลอรี่ต่อกิโลกรัม ในสัตว์ปีก 2,628 กิโลแคลอรี่ต่อกิโลกรัม ส่วนปริมาณแทนนินที่มีอยู่ในระดับต่ำ 14.79 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ก็มีประโยชน์สามารถควบคุมพยาธิในตัวสัตว์ได้ด้วยนอกจากนี้ใบมันสำปะหลังแห้งยังสามารถใช้เป็นแหล่งของวิตามินเอ (แคโรทีน) | |||
'''การใช้กากมันสำปะหลังเป็นอาหารสัตว์'''<ref>ลัดดาวัลย์ หอกกิ่ง. 2556. ผลของการใช้กากามันสำปะหลังต่อการย่อยได้ของโภชนะ สมรรถนะ การผลิตคุณภาพไข่ คอเลสเตอรอลในไข่แดง และการเปลี่ยนแปลงประชาการจุลินทรีย์ของไก่ไข่. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์. 111 หน้า.</ref> | |||
กากมันสำปะหลังที่เหลือจากโรงงานผลิตแป้งมันสำปะหลังยังมีคุณค่าทางโภชนาการหลงเหลืออยู่ โดยเฉพาะแป้งซึ่งสำมารถนำมาใช้เป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์ได้ จึงมีการศึกษานำกากมันสำปะหลังไปใช้ในสูตรอาหารสัตว์ เช่น ใช้ผสมในอาหารไก่เนื้อ ทั้งนี้ในสูตรอาหารสัตว์ปีกมีการใช้มันสำปะหลังและส่วนเหลือทิ้งได้หลายรูปแบบ เช่น มันเส้นมันอัดเม็ด มันสำปะหลังป่น แป้งมัน และกากมันสำปะหลัง | |||
จากการรวบรวมเอกสารพบว่ามีการใช้กากมันสำปะหลังในอาหารไก่เนื้อที่ระดับ 5 – 10 เปอร์เซ็นต์ โดยไม่มีผลกระทบต่อสมรรถนะการผลิต<ref>ยุวเรศ เรืองพานิช, อรประพันธ์ ส่งเสริม, สุกัญญา รัตนทับทิมทอง, ณัฐชนก อมรเทวภัทร, สุชาติ สงวนพันธุ์, อรทัย ไตรวุฒานนท์ และอรรถวุฒิ พลายบุญ. 2550. การใช้ประโยชน์ของกากมันสำปะหลังในการนำมาเป็นอาหารสัตว์ปีก.รายงานการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.</ref> <ref name=":6">ปรีดา คำศรี, ยุวเรศ เรืองพานิช, เสกสม อาตมางกูร, อรประพันธ์ ส่งเสริม และณัฐชนก อมรเทวภัทร. 2552. ผลของระดับกากมันสำปะหลังและรูปแบบอาหารต่อสมรรถภาพการผลิตในไก่เนื้อ. การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 47. สาขาสัตวศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. หน้า 132 – 140.</ref> <ref>Khempaka, S., Molee, W., and Guillaume, M. 2009. Dried cassava pulp as an alternative feedstuff for broilers: effect on growth performance, carcass traits, digestive organs, and nutrient digestibility. J. Poult. Sci. Res. 18: 487 – 493.</ref> แต่การใช้กากมันสำปะหลังในระดับที่สูงเกินไป อาจส่งผลกระทบต่อระบบการย่อยของไก่ได้ เนื่องจากปริมาณเยื่อใยที่สูง และอาจส่งผลให้ค่าความหนาแน่นของอาหารลดลง อาหารไหลผ่านในทางเดินอาหารได้เร็วอาจส่งผลกระทบต่อการกินอาหาร และอัตราการให้ผลผลิตไข่ของไก่ไข่ได้<ref name=":6" /> | |||
'''ตาราง คุณค่าทางโภชนาการของมันสำปะหลังเปรียบเทียบกับพืชอื่น ๆ''' | |||
{| class="wikitable" | |||
| colspan="7" |ส่วนประกอบทางเคมีของวัสดุเกษตรจำพวกแป้ง (% น้ำหนักแห้ง) | |||
|- | |||
|วัตถุดิบ | |||
|ความชื้น | |||
|โปรตีน | |||
|ไขมัน | |||
|เยื่อใย | |||
|คาร์โบไฮเดรท | |||
|แป้ง | |||
|- | |||
|มันสำปะหลัง | |||
|66 | |||
|1 | |||
|0.3 | |||
|1 | |||
|26 | |||
|77 | |||
|- | |||
|ข้าวโพด | |||
|16 | |||
|9 | |||
|4 | |||
|2 | |||
|60 | |||
|71 | |||
|- | |||
|มันฝรั่ง | |||
|78 | |||
|2 | |||
|0.1 | |||
|0.7 | |||
|18 | |||
|82 | |||
|- | |||
|ข้าวสาลี | |||
|14 | |||
|13 | |||
|2 | |||
|3 | |||
|64 | |||
|74 | |||
|- | |||
|ข้าวฟ่าง | |||
|16 | |||
|9 | |||
|3 | |||
|2 | |||
|63 | |||
|75 | |||
|- | |||
|ข้าว | |||
|12 | |||
|8 | |||
|0.5 | |||
|<nowiki>-</nowiki> | |||
|78 | |||
|89 | |||
|- | |||
|มันเทศ | |||
|68 | |||
|1.5 | |||
|0.3 | |||
|<nowiki>-</nowiki> | |||
|23 | |||
|72 | |||
|} | |||
(อรพิน, 2533)<ref>อรพิน ภูมิภมร, เทคโนโลยีของแป้ง. 2533. เคมีของแป้งและเทคโนโลยีผลิตภัณฑ์จากแป้งบางชนิดที่ผลิตในประเทศไทย. ระบบชีวภาพที่สำคัญต่อเทคโนโลยีชีวภาพ. เล่มที่ 5. 212 หน้า.</ref> | |||
=== '''การใช้มันสำปะหลังในอุตสาหกรรม''' === | === '''การใช้มันสำปะหลังในอุตสาหกรรม''' === | ||
นอกจากประโยชน์ด้านอาหารมนุษย์และสัตว์ มันสำปะหลังยังมีการใช้ประโยชน์ด้านอุตสาหกรรมอีกหลายประการ เช่น การผลิตสารที่มีคุณสมบัติเป็นกาว การใช้ในอุตสาหกรรมไม้อัด กล่อง กระดาษ ผลิตอะซีโตน กลูโคส ผงชูรส เบียร์ วุ้นเส้น ใช้ในวงการแพทย์ เช่น เป็นส่วนผสมของยา ใช้ผลิตแอลกอฮอล์เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงรถยนต์ได้ ปัจจุบันประเทศบราซิลใช้แอลกอฮอล์ที่ผลิตจากมันสำปะหลังในปริมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ ผสมกับน้ำมันเบนซินใช้กับรถยนต์ ส่วนในประเทศไทยมีโรงงานต้นแบบในการผลิตแอลกอฮอล์จากมันสำปะหลังเพื่อเป็นเชื้อเพลิงรถยนต์ | นอกจากประโยชน์ด้านอาหารมนุษย์และสัตว์ มันสำปะหลังยังมีการใช้ประโยชน์ด้านอุตสาหกรรมอีกหลายประการ เช่น การผลิตสารที่มีคุณสมบัติเป็นกาว การใช้ในอุตสาหกรรมไม้อัด กล่อง กระดาษ ผลิตอะซีโตน กลูโคส ผงชูรส เบียร์ วุ้นเส้น ใช้ในวงการแพทย์ เช่น เป็นส่วนผสมของยา ใช้ผลิตแอลกอฮอล์เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงรถยนต์ได้ ปัจจุบันประเทศบราซิลใช้แอลกอฮอล์ที่ผลิตจากมันสำปะหลังในปริมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ ผสมกับน้ำมันเบนซินใช้กับรถยนต์ ส่วนในประเทศไทยมีโรงงานต้นแบบในการผลิตแอลกอฮอล์จากมันสำปะหลังเพื่อเป็นเชื้อเพลิงรถยนต์<ref name=":1" /> | ||
== อ้างอิง == | == อ้างอิง == | ||
__FORCETOC__ | __FORCETOC__ |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 08:16, 15 สิงหาคม 2567
1
1
การส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังของประเทศไทย[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
การส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังของประเทศไทย | ||||||||||||||||
ปี | 1 | 2 | 3 | รวมส่งออก
(1-3) |
4 | 5 | 6 | รวมมันสำปะหลัง
ส่งออกทั้งหมด (1-6) | ||||||||
แป้งมัน
(Native Starch) |
แป้งดัดแปร
(Modeified Starch) |
ไข่มุก
(Pearl) |
มันเส้น
(Chip) |
มันอัเม็ด
(Pellet) |
กาก
(Pulp) | |||||||||||
ปริมาณ
(ตัน) |
มูลค่า
(M.Bath) |
ปริมาณ
(ตัน) |
มูลค่า
(M.Bath) |
ปริมาณ
(ตัน) |
มูลค่า
(M.Bath) |
ปริมาณ
(ตัน) |
มูลค่า
(M.Bath) |
ปริมาณ
(ตัน) |
มูลค่า
(M.Bath) |
ปริมาณ
(ตัน) |
มูลค่า
(M.Bath) |
ปริมาณ
(ตัน) |
มูลค่า
(M.Bath) |
ปริมาณ
(ตัน) |
มูลค่า
(M.Bath) | |
2012 | 2,235,574 | 30,796 | 845,815 | 18,930 | 23,540 | 581 | 3,104,929 | 50,307 | 4,611,976 | 33,239 | 82,178 | 566 | 610,102 | 2,741 | 8,409,185 | 86,853 |
2013 | 2,445,612 | 34,880 | 897,351 | 20,038 | 27,005 | 636 | 3,369,968 | 55,554 | 5,755,376 | 39,515 | 58,866 | 407 | 521,171 | 2,531 | 9,705,381 | 98,007 |
2014 | 3,011,941 | 41,053 | 947,192 | 21,633 | 28,061 | 715 | 3,987,194 | 63,401 | 6,777,097 | 48,873 | 21,852 | 142 | 405,834 | 1,940 | 11,191,977 | 114,356 |
2015 | 2,923,441 | 41,167 | 905,028 | 21,447 | 29,658 | 771 | 3,858,127 | 63,385 | 7,259,774 | 51,869 | 38,861 | 291 | 525,551 | 1,780 | 11,682,313 | 117,325 |
2016 | 3,275,985 | 39,981 | 947,120 | 21,227 | 35,425 | 847 | 4,258,530 | 62,055 | 6,406,148 | 39,037 | 1,174 | 79 | 573,555 | 1,744 | 11,239,407 | 102,915 |
2017 | 3,133,778 | 35,059 | 1,010,734 | 20,757 | 31,757 | 737 | 4,176,269 | 56,553 | 6,445,350 | 36,524 | 35,685 | 200 | 515,020 | 1,795 | 11,172,324 | 95,072 |
2018 | 2,936,309 | 44,590 | 1,032,504 | 24,335 | 36,317 | 944 | 4,005,130 | 69,869 | 3,989,681 | 28,440 | 11,387 | 886 | 270,958 | 1,176 | 8,277,156 | 100,371 |
2019 | 2,835,484 | 38,500 | 1,038,610 | 23,740 | 40,759 | 1,030 | 3,914,853 | 63,271 | 2,402,555 | 16,278 | 12,328 | 100 | 265,434 | 1,127 | 6,595,170 | 80,776 |
2020 | 2,781,681 | 36,103 | 1,034,574 | 23,392 | 45,550 | 1,153 | 3,861,805 | 60,648 | 3,063,671 | 21,389 | 12,241 | 110 | 180,744 | 795 | 7,118,460 | 82,941 |
2021 | 256,086 | 3,378 | 85,695 | 1,896 | 2,578 | 63 | 344,359 | 5,337 | 495,069 | 3,771 | 4,640 | 36 | 28,258 | 139 | 872,325 | 9,282 |
(ที่มา: สมาคมแป้งมันสำปะหลัง, 25/03/2564)[1]
ผลิตภัณฑ์จากมันสำปะหลัง[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังหลักในประเทศไทย ประกอบไปด้วย มันเส้น มันอัดเม็ด แป้งมันสำปะหลังทั้งในรูปของแป้งดิบและแป้งดัดแปร และเอทอนอล ซึ่งทั้งหมดมีการนำไปใช้เป็นวัถตุดิบต่อเนื่องในหลายอุตสาหกรรม ตลาดส่งออกหลักของผลิตภัณฑ์มันเส้น คือ สาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งนำเข้ามันเส้นจากไทยมากกว่าร้อยละ 90 ของปริมาณทั้งหมดที่ส่งออก ส่วนผลิตภัณฑ์มันอัดเม็ดส่วนใหญ่จำหน่ายให้แก่โรงงานอาหารสัตว์หรือผู้ส่งออก โดยมีตลาดหลักคือ สหภาพยุโรป สำหรับแป้งมันสำปะหลังมีการจำหน่ายทั้งภายในและต่างประเทศ ตลาดส่งออกแป้งมันสำปะหลังหลักของไทย ได้แก่ ญี่ปุ่น ไต้หวัน จีน และอินโดนีเซีย[2] ประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังมากเป็นอับดับหนึ่งของโลก[3] ในปีเพาะปลูก 2550-2551 ประเทศไทยมีปริมาณผลผลิตมันสำปะหลังสูงถึง 25.57 ล้านตัน[4] ซึ่งปริมาณผลผลิตมันสำปะหลังยังมีแนวโนมจะเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ เนื่องจากความต้องการมันสำปะหลังเพื่อใช้ในประเทศและเพื่อส่งออกยังคงเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง[2]
เนื่องจากหัวสำปะหลังมันสดไม่สามารถเก็บรักษาไว้ได้นาน เน่าเสียหายได้ง่าย จึงมักจะมีการแปรรูปเพื่อให้สามารถเก็บไว้บริโภคได้นานวัน มักนำไปหมักก่อนแล้วจึงนำไปปรุงเป็นอาหาร เช่น นึ่ง ทอด ย่าง หรือ นำหัวสดไปบดใส่ถุงทับให้แห้งทิ้งไว้ 4 วัน ระหว่างนั้นจะเกิดการหมัก จากนั้นจึงนำไปทอด หรือ นำไปแช่ในน้ำไหลหลาย ๆ วัน แล้วนำไปนึ่งเพื่อเป็นอาหาร นอกจากใช้เป็นอาหารหลักแล้ว ยังทำอาหารได้หลายรูปแบบ เช่น ทำเป็นแป้งมันเพื่อนำไปประกอบอาหาร หัวสดยังนำมาเป็นมันทอดได้โดยปอกเปลือกแล้วฝานเป็นแผ่นบาง ๆ ก่อนนำไปทอด คนไทยนิยมนำมาเชื่อมและย่าง ทำเป็นขนมมันนึ่งมะพร้าวและน้ำตาล[5]
มันเส้นสะอาด (cassava chip)[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
การแปรรูปมันสำปะหลังที่นิยมมากที่สุดคือการทำมันเส้น เมื่อเก็บเกี่ยวหัวมันสดแล้วนำมาตัดเป็นชิ้นเล็ก ๆ ด้วยเครื่องตัด แล้วตากแห้งเพื่อส่งขายเป็นวัตถุดิบให้อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ หรืออุตสาหกรรมมันอัดเม็ด หรือใช้ทดแทนธัญพืชอื่นที่ให้พลังงาน เช่น ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ข้าวสาลี เพราะมีราคาต่ำกว่า โดยหัวมันสำปะหลังสดปริมาณ 2.5 กิโลกรัม [6]จะผลิตเป็นมันเส้นได้ 1 กิโลกรัม มันเส้น ประกอบไปด้วย แป้ง (polarimetric) 70-75 เปอร์เซ็นต์ โปรตีน 2 เปอร์เซ็นต์ ความชื้น 11 เปอร์เซ็นต์ เยื่อใย 2 เปอร์เซ็นต์ และดินทราย 1 เปอร์เซ็นต์
ขั้นตอนการทำมันเส้นสะอาด มีดังนี้
- ทำความสะอาดสิ่งเจือปนที่ติดมากับหัวมัน
- นำหัวมันที่สะอาดแล้วใส่เครื่องป้อน (กรณีที่ใช้เครื่องป้อน) หรือ ใส่เครื่องตัด หรือ ใช้มีดหั่นเป็นชิ้น ๆ
- นำชิ้นหัวมันที่หั่นแล้วไปตากแดดบนลานคอนกรีต (ลานตาก) หรือพื้นที่ปูด้วยวัสดุ เช่น เสื่อ ตะแกรงไม้ไผ่
- ระหว่างการตากแดดจะต้องใช้คราดพลิกด้าน มันเส้นทุก ๆ 1 - 2 ชั่วโมง อาจใช้คนงาน หรือรถ แทรกเตอร์ก็ได้ เมื่อมันเส้นแห้งดีแล้วก็ส่งขายต่อไป
ข้อดีของการใช้มันเส้นเป็นอาหารสัตว์
- ประกอบด้วยแป้งเป็นหลัก สัตว์กระเพาะเดี่ยวและสัตว์ปีกย่อยได้ง่ายกว่าข้าวโพดเมล็ดและข้าวฟ่างเมล็ด และเป็นแหล่งแป้งและน้ำตาลที่ดีในการเร่งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ในกระเพาะหมักของโค-กระบือ
- มีการปนเปื้อนของสารพิษจากเชื้อราโดยเฉพาะอะฟลาทอกซินน้อยมาก เมื่อเปรียบเทียบกับข้าวโพดเมล็ด
- มักพบจุลินทรีย์กลุ่มแลคโตบาซิลลัสและยีสต์ที่เป็นประโยชน์ต่อสัตว์ ช่วยให้สัตว์เลี้ยงมีสุขภาพดี
- สามารถใช้ทดแทนวัตถุดิบธัญพืช เช่น ข้าวโพดเมล็ด ข้าวฟ่างเมล็ด ปลายข้าว ซึ่งเป็นวัตถุดิบประเภทพลังงาน หรือแป้งเช่นเดียวกันได้อย่างเต็มที่ในสูตรอาหารสัตว์ทุกชนิด
เครื่องจักรกลผลิตมันเส้น
เครื่องหั่นชิ้นมันเส้นมีหลักการทำงานโดยป้อนหัวมันสำปะหลังเข้าสู่ส่วนทำความสะอาด ซึ่งใช้หลักการขัดสีของวัสดุกับผิววัตถุดิบในน้ำ ขัดผิวและล้างให้สะอาด แล้วลำเลียงส่งเข้าชุดใบมีดที่ใช้หลักการเฉือนได้เป็นชิ้นมันเส้นสะอาด เครื่องหั่นใช้ต้นกำลังขับในเพลาเดียวกันทำให้ทุกส่วนทำงานต่อเนื่องพร้อมกัน[7]
เครื่องสับมันแบบจานนอนและเครื่องสับมันที่พัฒนาขึ้นสามารถสับมันเป็นแผ่นแต่ยังไม่สม่ำเสมอเท่าที่ควร ซึ่งถ้าเป็นลักษณะของมันเส้นที่ผ่าน การสับด้วยเครื่องสับแบบจานรูของลานมันสำปะหลังทั่วไปจะมีลักษณะเป็นก้อนไม่สม่ำเสมอเช่นกัน[8]
จานตัดของเครื่องตัดแบบจานหมุน โดยดัดแปลงจานตัดแบบเดิมที่ทำให้ชิ้นมันมีขนาดไม่แน่นอน และมีขนาดใหญ่ ทำให้การตากใช้เวลานาน เนื่องจากต้องการให้ชิ้นมันมีขนาดเล็กลง และมีรูปแบบของชิ้นมันที่เป็นรูปแบบเดียวกันมากขึ้น ซึ่งหลังการออกแบบพบว่าสมรรถนะการตัดลดลงจาก 9-11 ตันต่อชั่วโมง เป็น 6-8 ตันต่อชั่วโมง และขนาดชิ้นเล็กลง โดยชิ้นมันมีขนาดเฉลี่ย 5×2.4×0.6 เซนติเมตร[9]
เครื่องสับมันสำปะหลังแบบใบมีดโยก สำหรับผลิตชิ้นมันเส้นสะอาดเพื่อเป็นส่วนผสมอาหารสำหรับโคนม เครื่องต้นแบบมีส่วนประกอบหลักคือ ชุดทำความสะอาดหัวมันสำปะหลังที่มีลักษณะเป็นตะแกรงหมุนเพื่อแยกสิ่งเจือปน ชุดป้อนหัวมันเข้าสู่ชุดใบมีดสับ ชุดใบมีดสับสร้างขึ้นเพื่อให้เป็นรูปแบบการสับตามขวาง และตัดแยกชิ้นมันเป็นรูปทรงแท่งยาว[10]
ข้อดีข้อเสียของเครื่องสับหัวมัน
เครื่องสับหัวมันที่พัฒนาขึ้นสามารถสับมันเป็นแผ่น ซึ่งถ้าเป็นลักษณะของมันเส้นที่ผ่านการสับด้วยเครื่องสับแบบจานรูของลานมันสำปะหลังทั่วไปจะมีลักษณะเป็นก้อนไม่สม่ำเสมอ ซึ่งไม่มีความเหมาะสมต่อการอบแห้งเนื่องจากการอบแห้งจะแห้งไม่พร้อมกัน ทำให้สูญเสียพลังงานในการลดความชื้นมากขึ้น ทั้งนี้ต้องมีการศึกษาการตัดหัวมันสำปะหลังสดด้วยเครื่องตัดชนิดอื่นเพื่อให้ได้ชิ้นมันที่มีขนาดสม่ำเสมอมากขึ้นสอดคล้องกับระยะเวลาที่เหมาะสมในการตากแห้งเพื่่อลดความชื้น และลดการเกิดชิ้นมันขนาดเล็กซึ่งเป็นต้นเหตุของฝุ่นผง จะเป็นการปรับปรุงคุณภาพของกระบวนการผลิตมันสำปะหลังเส้นของประเทศให้สูงขึ้นกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งจะเป็นผลดีกับเกษตรกรผู้ผลิตหัวมันสำปะหลังสด และผู้ประกอบการโรงงานมันเส้นรวมทั้งทำให้การส่งออกผลิตภัณฑ์มันเส้นไปต่างประเทศมีความยั่งยืน และเป็นที่น่าเชื่อถือในระยะยาวต่อไป[8]
แป้ง (starch)[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
แป้งที่สกัดเอาเยื่อใยออกแล้วใช้เป็นส่วนประกอบของอาหารมนุษย์ และเป็นเครื่องปรุงอาหารหลายชนิด เช่น ใช้ทำวุ้นเส้น ทำเบียร์ ใช้ในอุตสาหกรรม เช่น เป็นตัวทำให้สารติดแน่น คงรูปร่าง ใช้ในอุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมซักรีด อุตสาหกรรมทำกระดาษ แป้งเปียก แอลกอฮอล์ อะซีโตน ยา กลูโคส และแป้งดัดแปรโดยสามารถแบ่งได้ตามลักษณะการผลิต[11] แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
- แป้งดิบหรือแป้งมันสำปะหลังดิบ (native starch) เป็นแป้งที่ได้จากหัวมันสดด้วยขบวนการแยกกากโปรตีน และองค์ประกอบอื่น ๆ ปัจจุบันมีโรงงานประมาณ 85 โรงงาน ทั่วประเทศไทย มีกำลังการผลิตรวมทั้งสิ้น 2 - 2.5 ล้านต้นต่อปี มีผลผลิตเฉลี่ยทั้งอุตสาหกรรม ประมาณ 1.76 ล้านตันต่อปี
- แป้งมันสำปะหลังดัดแปร (modified starch) ได้จากการนำแป้งมันสำปะหลังดิบมาเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางโมเลกุลให้เหมาะสมกับการใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ โดยปกติการผลิตแป้งมันสำปะหลังแปรรูปใช้อัตราแป้งดิบ 1 กิโลกรัม ได้แป้งแปรรูป 0.93 กิโลกรัม
แป้งข้าวเหนียวมันสำปะหลัง (waxy cassava) : ศูนย์เกษตรเขตร้อนนานาชาติ (CIAT) ได้พัฒนาเพิ่มมูลค่าของพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อเพิ่มโอกาสในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ โดยไม่เน้นเพียงการเพิ่มหรือรักษาเสถียรภาพของการผลิตแต่เป็นการพัฒนาลักษณะต่าง ๆ ให้ตรงกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม เช่น การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังที่มีโปรตีนสูงสำหรับผลิตเป็นอาหารสัตว์ การปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังที่เป็นแป้งข้าวเหนียว (waxy starch) ใช้สำหรับอุตสาหกรรมแป้ง ซึ่งทางศูนย์เกษตรเขตร้อนนานาชาติ (CIAT) มองว่าอุตสาหกรรมแป้งข้าวเหนียว (waxy starch) จะเป็นอุตสาหกรรมที่กอให้เกิดการเพิ่มมูลค่าทางเศณษฐกิจแก่ประเทศไทย[12] โดยแป้ง waxy ได้จากการนำแป้งไปต้มจนอุณหภูมิสูงกว่าอุณหภูมิข้นใส (gelatinization temperature) เม็ดแป้งจะพองตัวตามการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิ การพองตัวและการทำลาย (disruption) ของเมล็ดแป้งเป็นเทคโนโลยีที่สำคัญอย่างหนึ่ง โดยวิธีที่ดีที่สุดที่ใช้เปลี่ยนแปลงความหนืดในระหว่างต้มแป้ง คือการใช้เครื่องวัดความหนืด (Rapid visco amylograph เรียกย่อว่า RVA) โดยมีหลักการในการวัดความหนืดของแป้งพร้อมการกวนตลอดเวลา ขณะที่ให้ความร้อนในอัตราอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอ แล้วทิ้งไว้ที่อุณหภูมิที่ต้องการระยะหนึ่ง แล้วทำให้เย็นลงโดยการลดอุณหภูมิในอัตราที่ลดลงอย่างสม่ำเสมอเช่นเดียวกัน[13] จากนั้นนำมาวัดความหนืดแป้ง ยิ่งแป้งมีความหนืดมากราคาก็จะดีตามไปด้วย
ประโยชน์จากแป้งมันสำปะหลัง[11]
- แป้งมันสำปะหลังที่นิยมใช้มากที่สุดคือ การบริโภคในครัวเรือน กล่าวคือคนไทยบริโภคแป้งมันสำปะหลังประมาณ 7 กิโลกรัมต่อคนต่อปี ซึ่งจะเป็นการปรุงอาหารประจำวันในบ้านเรือนหรือร้านค้าทั่วไป ถ้ามีการพัฒนาสูตรอาหารหรือมีการใช้บริโภคในครัวเรือนมากขึ้น ก็จะเป็นการเพิ่มปริมาณการใช้แป้งมันสำปะหลังมากขึ้นอีกด้วย
- อุตสาหกรรมแป้งดัดแปร โดยแป้งที่ผลิตได้ส่วนใหญ่จะถูกนำมาเป็นวัตถุดิบสำหรับปฏิกิริยาเคมี เพื่อให้แป้งมีคุณสมบัติพิเศษ เช่น เหนียวขึ้น ทนความร้อน ทนกรดดีขึ้น แป้งมันสำปะหลังเหมาะสมมากสำหรับการผลิตเป็นแป้งดัดแปร ปริมาณการใช้แป้งเพื่ออุตสาหกรรมแป้งดัดแปรมีมากประมาณกว่า 3 แสนตันต่อปี
- ใช้ทำผงชูรสและไลซีน โดยผ่านแระบวนการหมักด้วยจุลินทรีย์ที่จำเพาะ
- สารให้ความหวาน ที่ได้จากการย่อยแป้งให้เล็กลงเป็นหน่วยของน้ำตาลต่าง ๆ มีความจำเป็นต้องใช้ในอุตสาหกรรมขนมหวาน ลูกกวาด ยาสีฟัน และยา การใช้แป้งผลิตสารให้ความหวานแต่ละปีมีปริมาณมากกว่าหนึ่งแสนตัน
- อุตสาหกรรมอาหาร และสาคู โดยทั่ว ๆ ไปใช้แป้งเป็นตัวทำให้เหนียวสร้างลักษณะเงาวาว และน้ำหนักให้กับเนื้ออาหาร ส่วนสาคูเป็นอุตสาหกรรมที่ทำจากการเอาแป้งมาขึ้นรูป โดยเครื่องเขย่าให้จับกันเป็นก้อน และร่อนเพื่อคัดขนาดที่ต้องการ คั่วและอบแห้งเป็นเม็ด ๆ เรียกว่าเม็ดสาคู ปริมาณการใช้แป้งประมาณ 1 แสนตันต่อปี ทั้งยังมีผลิตภัณฑ์เม็ดไข่มุกที่ผลิตจากแป้งมันสำปะหลังจะให้เนื้อสัมผัสที่เป็นแบบฉบับในรสและเนื้อเจล มีรสชาติแตกต่างไปตามส่วนผสมที่ใส่ เช่น น้ำตาล สารแต่งรสอื่นๆ มีหลายสีและเนื้อสัมผัส ที่เรียกกันว่า “ไข่มุก”
- อุตสาหกรรมกระดาษ (ยกเว้นกระดาษบางชนิด เช่น กระดาษชำระ) มีแป้งเป็นตัวประสาน และเคลือบอยู่ประมาณร้อยละ 5 ของน้ำหนักกระดาษ การใช้กระดาษมีปริมาณเพิ่มขึ้นทุกปี มีการใช้แป้งมันสำปะหลังและแป้งดัดแปรในอุตสาหกรรมกระดาษโดยประมาณ 1 แสนตันต่อปี
- อุตสาหกรรมสิ่งทอ ในการเคลือบเส้นใยของผ้าจำเป็นที่จะต้องใช้แป้งเคลือบ ปกตินิยมใช้แป้งดัดแปรโดยปริมาณแป้งที่ใช้เท่ากับร้อยละ 1 ของน้ำหนัก และมีปริมาณการใช้ประมาณ 2 หมื่นกว่าตันต่อปี
- อุตสาหกรรมไม้อัดและกาว แป้งใช้ผสมสารเคมีต่าง ๆ เป็นกาวติดกระดาษ เช่น กระดาษลูกฟูก รวมทั้งใช้ในอุตสาหกรรมไม้อัดด้วย มีปริมาณการใช้ประมาณ 3 หมื่นตันต่อปี
- การใช้แป้งในส่วนอื่น ๆ เช่น ในการผลิตยาเม็ด
การใช้ประโยชน์จากกากมันสำปะหลังเพื่อผลิตเป็นน้ำตาล[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
สวลี และคณะ (2555)[14] รายงานว่าประเทศไทยมีผลผลิตมันสำปะหลังเป็นอันดับ 3 ของโลก โดยคิดเป็นประมาณ 12 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณผลผลิตรวมทั้งโลก รองจากประเทศไนจีเรีย และบราซิล และมีผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังส่งออกเป็นอันดับ 1 ของโลก ซึ่งมีส่วนแบ่งทางการตลาดไม่ต่ำกว่า 80 เปอร์เซ็นต์ของทั่วโลก จากกระบวนการผลิตแป้งมันสำปะหลังมีส่วนเหลือเป็นกากมันสำปะหลัง 1.11 เปอร์เซ็นต์ของผลผลิตมันสำปะหลังที่เข้าโรงงานอุตสาหกรรม หรือ ประมาณสองล้านตันต่อปี หากสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้จะเป็นการสร้างประโยชน์จากของเหลือทิ้งและลดปัญหาทางมลภาวะกับสิ่งแวดล้อมได้
จากการที่เชื้อจุลินทรีย์ในธรรมชาติจะย่อยสลายสารประกอบอินทรีย์ในกากมันสำปะหลัง โดยกากมันสำปะหลังสามารถนำมาผลิตสารตั้งต้น และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น สารตั้งต้นประเภทน้ำตาลนำไปใช้กับอุตสาหกรรมอาหาร เครื่องดื่ม สารให้ความหวาน และผลิตเป็นเอทานอลได้
ลัดดาวัลย์ (2556)[15] รายงานภาพรวมแล้วกากมันสำปะหลังมีโปรตีนอยู่ในช่วง 1.55–3.42 เปอร์เซนต์ ไขมัน 0.12–0.53 เปอร์เซนต์ เถ้า 1.70–5.73 เปอร์เซนต์ เยื่อใย 10.38 – 15.26 เปอร์เซ็นต์ และแป้ง 47.97–68.89 เปอร์เซ็นต์ อย่างไรก็ตามองค์ประกอบทางโภชนาการมีความแปรผันขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น คุณภาพของมันสำปะหลังที่นำมาใช้ในกรรมวิธีการสกัดแป้ง สายพันธุ์มันสำปะหลัง อายุการเก็บเกี่ยว ความสมบูรณ์ของดิน และสภาพแวดล้อมในพื้นที่ปลูก รวมทั้งกระบวนการผลิตที่แตกต่างกันของแต่ละโรงงาน
Flour[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
เป็นแป้งที่ไม่ได้สกัดเยื่อใยออก ผลิตโดยนำหัวมันสดมาปอกเปลือก หั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ ตากแห้งแล้วป่นให้ละเอียด จากนั้นร่อนด้วยตะแกรงร่อนแป้ง จะได้แป้งดิบที่สามารถนำมาใช้ทำขนมอบชนิดต่าง ๆ ได้คล้ายแป้งสาลี เช่น นำมาทำเค้ก แพนเค้ก ขนมปัง คุกกี้ พาย ใช้ทดแทนแป้งสาลีหรือแป้งข้าวเจ้าได้บางส่วนในอาหารบางชนิด[5]
การใช้มันสำปะหลังเป็นอาหารสัตว์[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
มันสำปะหลังเป็นพืชที่ปลูกดูแลรักษาง่าย มีศัตรูธรรมชาติน้อย ดังนั้นราคาของผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังจึงต่ำกว่าธัญพืช และยังเหมาะที่จะใช้เป็นแหล่งคาร์โบไฮเดรตสำหรับการนำมาผสมกับหัวอาหารเป็นอาหารสัตว์ เช่น สุกร ไก่ ปลา และปศุสัตว์ แต่ยังต้องเพิ่มวิตามิน เกลือแร่ และกรดอะมิโนบางตัว เช่น เลี้ยงไก่ต้องเสริมสารอาหารและสารที่มีคุณสมบัติต้านอนุมูลอิสระเพิ่มเติม ในปัจจุบันทั่วโลกนิยมนำมันสำปะหลังมาเลี้ยงสัตว์มากขึ้นเนื่องจากราคาต่ำกว่าธัญพืช
ประเทศไทยส่งมันสำปะหลังออกขายในรูปอัดเม็ดและมันเส้น ในปริมาณกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ของผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังที่ส่งออกทั้งหมด ตลาดที่สำคัญของไทยคือประชาคมเศษฐกิจยุโรป ส่วนแป้งส่งขายให้ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา อินโดนีเซีย และประเทศอื่น ๆ อย่างไรก็ตามเรามักจะมีปัญหาเกี่ยวกับการกีดกันทางการค้าและกฎเกณฑ์การนำเข้ามันสำปะหลังในรูปอาหารสัตว์ในประชาคมเศษฐกิจยุโรป ซึ่งทำให้มันสำปะหลังจากไร่เกษตรกรมีราคาต่ำและแปรปรวนมาก จึงควรนำมันสำปะหลังไปใช้ประโยชน์ในด้านอื่น ๆ เพิ่มขึ้นเพื่อเพิ่มมูลค่าหัวมันสำปะหลังให้สูงขึ้น[5]
คุณค่าทางโภชนาการของมันเส้นหรือมันอัดเม็ด[16]
มันเส้นหรือมันอัดเม็ดจัดเป็นวัตถุดิบประเภทแป้ง เช่นเดียวกับข้าวโพด และปลายข้าว แต่มันเส้นหรือมันอัดเม็ดมีปริมาณโปรตีนที่ต่ำกว่า การแก้ปัญหาโปรตีนต่ำในมันเส้นหรือมันอัดเม็ดสามารถทำได้โดยการเพิ่มวัตถุดิบอาหารโปรตีนสูง เช่น กากถั่วเหลืองในสูตรอาหารให้สูงขึ้น ก็จะช่วยให้มันเส้นหรือมันอัดเม็ดมีคุณค่าทางโภชนาการใกล้เคียงกับข้าวโพดหรือปลายข้าว และสามารถทดแทนข้าวโพดหรือปลายข้าวในสูตรอาหารเลี้ยงสัตว์ได้
การใช้ใบมันสำปะหลังแห้งในสูตรอาหารสัตว์[17]
แม้ว่าใบมันสำปะหลังจะมีสารพิษสำคัญ 2 ชนิด คือกรดไฮโดรไซยานิคและสารแทนนิน แต่ในใบมันแห้งจะมี เหลืออยู่ในระดับต่ำมาก เช่นเดียวกับในมันเส้นที่กรดไฮโดรไซยานิคระเหยออกไประหว่างผึ่งแดด จนเหลือในระดับที่ไม่เป็นอันตรายสำหรับสัตว์ นอกจากนี้กรดไฮโดรไซยานิคในระดับต่ำดังกล่าวนี้กลับช่วยกระตุ้นให้เกิดระบบที่ทำให้สัตว์มีความต้านทานโรคเพิ่มขึ้นอีกด้วย
มีขั้นตอนดังต่อไปนี้
- เก็บใบมันสำปะหลัง ซึ่งควรเก็บใบมันสำปะหลังจากต้นก่อนทำการเก็บเกี่ยวหัวมัน เนื่องจากการเก็บใบมันสำปะหลังหลังการเกี่ยวแล้วนั้นอาจทำได้ไม่สะดวก และไม่สามารถเก็บใบมันสำปะหลังในแปลงได้หมด อย่างไรก็ตามควรเก็บใบมันก่อนการขุดหัวมันไม่เกิน 12– 24 ชั่วโมง เพื่อไม่ให้มีผลกระทบต่อเปอร์เซ็นต์แป้งในหัวมันสำปะหลัง
- การเก็บใบมันนั้นควรเด็ดจากส่วนยอดบริเวณที่มีสีเขียวยาวลงมาประมาณ 20 เซนติเมตร ส่วนที่เหลือเด็ดเฉพาะใบกับก้านใบเท่านั้น และไม่ควรเก็บส่วนของลำต้นติดมาด้วย เนื่องจากจะทำให้ใบมันสำปะหลังที่ได้มีคุณภาพต่ำ กล่าวคือโปรตีนต่ำ เยื่อใยสูง และส่วนก้านกับลำต้นยังทำให้แห้งได้ช้าอีกด้วย
- เมื่อเก็บใบมันมาแล้วควรตากหรือผึ่งแดดให้เร็วที่สุด เนื่องจากการเก็บไว้ในกระสอบหรือกองไว้ ทำให้เกิดความร้อนขึ้น ส่งผลให้ใบมันสำปะหลังมีลักษณะตายนึ่ง ใบมันสำปะหลังที่ได้เป็นสีน้ำตาล ไม่เป็นสีเขียว ทั้งยังทำให้มีการสูญเสียวิตามินเอและสารสีในใบมันไปด้วย
- นำใบมันสำปะหลังที่เก็บได้มาตากหรือผึ่งแดดให้แห้ง โดยอาจสับเป็นชิ้น ซึ่งจะทำให้ตากแห้งเร็วขึ้น ระหว่างการตาก ควรกลับใบมันสำปะหลังไปมาเป็นระยะ ๆ เพื่อให้ส่วนใบและก้านแห้งได้ทั่วถึง โดยตากหรือผึ่งแดด นาน 2 – 3 แดด ซึ่งใบมันแห้งที่ได้นี้สามารถนำไปใช้เป็นวัตถุดิบอาหารโค – กระบือได้ทันที ส่วนในสัตว์กระเพาะเดี่ยวพวกสุกรและสัตว์ปีกต้องนำไปบดให้ละเอียดก่อนนำไปใช้ผสมกับวัตถุดิบชนิดอื่น
ข้อแนะนำการใช้ ในสูตรอาหารสุกรรุ่น-ขุน และแม่พันธุ์ ให่ใช้ในระดับไม่เกิน 10-15 เปอร์เซ็นต์ อาหารสัตว์ปีกไม่เกิน 5-7 เปอร์เซ็นต์ อาหารผสมรวม (TMR) สำหรับโค-กระบือ 10-20 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งเป็นระดับที่จะไม่มีปัญหาจากสารพิษทั้งสองชนิดดังกล่าวข้างต้น
คุณค่าทางโภชนาการของใบมันสำปะหลังแห้ง[17]
คุณค่าทางโภชนาการของใบมันสำปะหลังจะผันแปรตามปริมาณส่วนใบกับก้านและลำต้นที่ติดมา ถ้ามีส่วนใบมากโปรตีนก็จะสูง ถึง 19.69 เปอร์เซ็นต์ ความชื้น 8.76 เปอร์เซ็นต์ ไขมัน 3.68 เปอร์เซ็นต์ เยื่อใย 22.78 เปอร์เซ็นต์ เถ้า 8.56 เปอร์เซ็นต์ แคลเซี่ยม 1.69 เปอร์เซ็นต์ และฟอสฟอรัส 0.20 เปอร์เซ็นต์ พลังงานใช้ประโยชน์ได้ในสุกร 2,868 กิโลแคลอรี่ต่อกิโลกรัม ในสัตว์ปีก 2,628 กิโลแคลอรี่ต่อกิโลกรัม ส่วนปริมาณแทนนินที่มีอยู่ในระดับต่ำ 14.79 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ก็มีประโยชน์สามารถควบคุมพยาธิในตัวสัตว์ได้ด้วยนอกจากนี้ใบมันสำปะหลังแห้งยังสามารถใช้เป็นแหล่งของวิตามินเอ (แคโรทีน)
การใช้กากมันสำปะหลังเป็นอาหารสัตว์[18]
กากมันสำปะหลังที่เหลือจากโรงงานผลิตแป้งมันสำปะหลังยังมีคุณค่าทางโภชนาการหลงเหลืออยู่ โดยเฉพาะแป้งซึ่งสำมารถนำมาใช้เป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์ได้ จึงมีการศึกษานำกากมันสำปะหลังไปใช้ในสูตรอาหารสัตว์ เช่น ใช้ผสมในอาหารไก่เนื้อ ทั้งนี้ในสูตรอาหารสัตว์ปีกมีการใช้มันสำปะหลังและส่วนเหลือทิ้งได้หลายรูปแบบ เช่น มันเส้นมันอัดเม็ด มันสำปะหลังป่น แป้งมัน และกากมันสำปะหลัง
จากการรวบรวมเอกสารพบว่ามีการใช้กากมันสำปะหลังในอาหารไก่เนื้อที่ระดับ 5 – 10 เปอร์เซ็นต์ โดยไม่มีผลกระทบต่อสมรรถนะการผลิต[19] [20] [21] แต่การใช้กากมันสำปะหลังในระดับที่สูงเกินไป อาจส่งผลกระทบต่อระบบการย่อยของไก่ได้ เนื่องจากปริมาณเยื่อใยที่สูง และอาจส่งผลให้ค่าความหนาแน่นของอาหารลดลง อาหารไหลผ่านในทางเดินอาหารได้เร็วอาจส่งผลกระทบต่อการกินอาหาร และอัตราการให้ผลผลิตไข่ของไก่ไข่ได้[20]
ตาราง คุณค่าทางโภชนาการของมันสำปะหลังเปรียบเทียบกับพืชอื่น ๆ
ส่วนประกอบทางเคมีของวัสดุเกษตรจำพวกแป้ง (% น้ำหนักแห้ง) | ||||||
วัตถุดิบ | ความชื้น | โปรตีน | ไขมัน | เยื่อใย | คาร์โบไฮเดรท | แป้ง |
มันสำปะหลัง | 66 | 1 | 0.3 | 1 | 26 | 77 |
ข้าวโพด | 16 | 9 | 4 | 2 | 60 | 71 |
มันฝรั่ง | 78 | 2 | 0.1 | 0.7 | 18 | 82 |
ข้าวสาลี | 14 | 13 | 2 | 3 | 64 | 74 |
ข้าวฟ่าง | 16 | 9 | 3 | 2 | 63 | 75 |
ข้าว | 12 | 8 | 0.5 | - | 78 | 89 |
มันเทศ | 68 | 1.5 | 0.3 | - | 23 | 72 |
(อรพิน, 2533)[22]
การใช้มันสำปะหลังในอุตสาหกรรม[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
นอกจากประโยชน์ด้านอาหารมนุษย์และสัตว์ มันสำปะหลังยังมีการใช้ประโยชน์ด้านอุตสาหกรรมอีกหลายประการ เช่น การผลิตสารที่มีคุณสมบัติเป็นกาว การใช้ในอุตสาหกรรมไม้อัด กล่อง กระดาษ ผลิตอะซีโตน กลูโคส ผงชูรส เบียร์ วุ้นเส้น ใช้ในวงการแพทย์ เช่น เป็นส่วนผสมของยา ใช้ผลิตแอลกอฮอล์เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงรถยนต์ได้ ปัจจุบันประเทศบราซิลใช้แอลกอฮอล์ที่ผลิตจากมันสำปะหลังในปริมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ ผสมกับน้ำมันเบนซินใช้กับรถยนต์ ส่วนในประเทศไทยมีโรงงานต้นแบบในการผลิตแอลกอฮอล์จากมันสำปะหลังเพื่อเป็นเชื้อเพลิงรถยนต์[5]
อ้างอิง[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
- ↑ สมาคมแป้งมันสำปะหลัง website: http://www.thaitapiocastarch.org/th/information/statistics/export_tapioca_products, 25/03/2564
- ↑ 2.0 2.1 ปรารถนา ปรารถนาดี, จิรชัย พุทธกุลสมศิริ, เจริญชัย โขมพัตราภรณ์ และชุมพร มณฑาทิพย์กลุ. 2552. การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ของผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังในประเทศไทย. รายงานวิจัย. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. 318 หน้า.
- ↑ Food and Agricultural Organization of the United Nations [FAO]. 2009. FAOSTAT. http://faostat.fao.org.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ:0
- ↑ 5.0 5.1 5.2 5.3 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ:1
- ↑ มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย. สืบค้น 10 มีนาคม 2564. https://www.tapiocathai.org/Mainpage.html.
- ↑ วิรัตน์ หวังเขื่อนกลาง. 2555. เครื่องหั่นชิ้นมันเส้น. การประชุมวิชาการสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 13. หน้า 148-155.
- ↑ 8.0 8.1 อนุชิต ฉ่ำสิงห์, ปรีดาวรรณ ไชยศรีชลธาร, ปรีชา อานันท์รัตนกุล, นิทัศน์ ตั้งพินิจกุล, จิราวัสส์ เจียตระกูล, ประสาท แสงพันธุ์ตา, วุฒิพล จันทร์สระคู, ศักดิ์ชัย อาษาวัง และกอบชัย ไกรเทพ. 2558. วิจัยและพัฒนาเครื่องจักรสำหรับทำมันเส้นสะอาด. กรมวิชาการเกษตร: 28 หน้า.
- ↑ Thanh, N.C., S. Muttamara, B.N. Lohani, B.V.P.C. Raoand and S. Burintaratiku. 1979. Optimization of drying and pelleting techniques for tapioca roots.
- ↑ ธวัชชัย ทิวาวรรณวงศ์ และ วิรัตน์ หวังเขื่อนกลาง. 2548. การศึกษาเครื่องสับมันสำปะหลังแบบใบมีดโยกสำหรับผลิตชิ้นมันเส้น. การประชุมวิชาการครั้งที่ 6 ประจำปี 2548 สมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย.
- ↑ 11.0 11.1 วิจารณ์ วิชชุกิจ, ปิยะ กิตติภาดากุล, วัชรี เลิศมงคล, ณรงค์ สิงห์บุระอุดม, กล้าณรงค์ ศรีรอด และ ปิยะ ดวงพัตรา. มันสำปะหลัง. โครงการการแปรปรูปและการใช้ประโยชน์มันสำปะหลัง. หน่วยปฏิบัติการเทคโนโลยีแประรูปมันสำปะหลังและแป้ง สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2542. 20 หน้า.
- ↑ สุดเขตต์ นาคะเสถียร. 2552.การพัฒนาพันธุ์มันสำปะหลังข้าวเหนียวของไทยสำหรับอุตสาหกรรมแป้งและเพื่อส่งออก. หนังสือสมาคมแป้งมันสำปะหลังไทย2552.
- ↑ อรพิน ภูมิภมร, เทคโนโลยีของแป้ง. 2533. เคมีของแป้งและเทคโนโลยีผลิตภัณฑ์จากแป้งบางชนิดที่ผลิตในประเทศไทย. ระบบชีวภาพที่สำคัญต่อเทคโนโลยีชีวภาพ. เล่มที่ 5. 212 หน้า.
- ↑ สวลี ดีประเสริฐ, ศุภชัย บุญนำมา, วิทยา บุตรทองมูล, บุปผา ชินเชิดวงศ์ และ วีระ โลหะ. 2555. การใช้ประโยชน์จากกากมันสำปะหลังเพื่อผลิตเป็นน้ำตาล. งานประชุมวิชาการระดับชาติ. มหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 22. 3:39-46.
- ↑ ลัดดาวัลย์ หอกกิ่ง. 2556. ผลของการใช้กากามันสำปะหลังต่อการย่อยได้ของโภชนะ สมรรถนะ การผลิตคุณภาพไข่ คอเลสเตอรอลในไข่แดง และการเปลี่ยนแปลงประชาการจุลินทรีย์ของไก่ไข่. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์. 111 หน้า.
- ↑ อุทัย และคณะ (2540)http://nutrition.dld.go.th/Nutrition_Knowlage/ARTICLE/new_article/cassava2.htm
- ↑ 17.0 17.1 สุกัญญา จัตตุพรพงษ์ และ วราพันธุ์ จินตณวิชญ์. ม.ป.ป.. ศูนย์ค้นคว้าและพัฒนาวิชาการอาหารสัตว์ สถาบันสุวรรณวาจกกสิกิจ ฯ. http://www3.rdi.ku.ac.th/exhibition/51/Trade/trade_05-01/trade_05_1.htm. 11/03/2564.
- ↑ ลัดดาวัลย์ หอกกิ่ง. 2556. ผลของการใช้กากามันสำปะหลังต่อการย่อยได้ของโภชนะ สมรรถนะ การผลิตคุณภาพไข่ คอเลสเตอรอลในไข่แดง และการเปลี่ยนแปลงประชาการจุลินทรีย์ของไก่ไข่. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์. 111 หน้า.
- ↑ ยุวเรศ เรืองพานิช, อรประพันธ์ ส่งเสริม, สุกัญญา รัตนทับทิมทอง, ณัฐชนก อมรเทวภัทร, สุชาติ สงวนพันธุ์, อรทัย ไตรวุฒานนท์ และอรรถวุฒิ พลายบุญ. 2550. การใช้ประโยชน์ของกากมันสำปะหลังในการนำมาเป็นอาหารสัตว์ปีก.รายงานการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
- ↑ 20.0 20.1 ปรีดา คำศรี, ยุวเรศ เรืองพานิช, เสกสม อาตมางกูร, อรประพันธ์ ส่งเสริม และณัฐชนก อมรเทวภัทร. 2552. ผลของระดับกากมันสำปะหลังและรูปแบบอาหารต่อสมรรถภาพการผลิตในไก่เนื้อ. การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 47. สาขาสัตวศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. หน้า 132 – 140.
- ↑ Khempaka, S., Molee, W., and Guillaume, M. 2009. Dried cassava pulp as an alternative feedstuff for broilers: effect on growth performance, carcass traits, digestive organs, and nutrient digestibility. J. Poult. Sci. Res. 18: 487 – 493.
- ↑ อรพิน ภูมิภมร, เทคโนโลยีของแป้ง. 2533. เคมีของแป้งและเทคโนโลยีผลิตภัณฑ์จากแป้งบางชนิดที่ผลิตในประเทศไทย. ระบบชีวภาพที่สำคัญต่อเทคโนโลยีชีวภาพ. เล่มที่ 5. 212 หน้า.