ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การจัดการแมลง"

 
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 6: บรรทัดที่ 6:
=== เพลี้ยแป้งลาย ===
=== เพลี้ยแป้งลาย ===
เพลี้ยแป้งลาย (Striped mealybug; ''Ferrisia virgata'' Cockerell) มีลักษณะรูปร่างลำตัวคล้ายลิ่ม ผนังลำตัวสีเทา มีผงแป้งปกคลุมลำตัวยาวเป็นเงาคล้ายเส้นใยแก้ว มีแถบดำบนลำตัว 2 แถบชัดเจน ปลายท้องมีหางคล้ายเส้นแป้ง 2 เส้น ยาวครึ่งหนึ่งของลำตัว พบการระบาดของเพลี้ยแป้งชนิดนี้ทั่วไปในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง นอกจากนี้ยังพบการเข้าทำลายในพืชหลายชนิด เช่น มะละกอ น้อยหน่า และไม้ดอกบางชนิด เช่น ชบา เป็นต้น ที่ผ่านมาการระบาดของเพลี้ยแป้งชนิดนี้ยังไม่ถึงระดับความเสียหายทางเศรษฐกิจ เนื่องจากมีการควบคุมด้วยศัตรูธรรมชาติคือตัวห้ำและตัวเบียนอย่างสมดุล (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
เพลี้ยแป้งลาย (Striped mealybug; ''Ferrisia virgata'' Cockerell) มีลักษณะรูปร่างลำตัวคล้ายลิ่ม ผนังลำตัวสีเทา มีผงแป้งปกคลุมลำตัวยาวเป็นเงาคล้ายเส้นใยแก้ว มีแถบดำบนลำตัว 2 แถบชัดเจน ปลายท้องมีหางคล้ายเส้นแป้ง 2 เส้น ยาวครึ่งหนึ่งของลำตัว พบการระบาดของเพลี้ยแป้งชนิดนี้ทั่วไปในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง นอกจากนี้ยังพบการเข้าทำลายในพืชหลายชนิด เช่น มะละกอ น้อยหน่า และไม้ดอกบางชนิด เช่น ชบา เป็นต้น ที่ผ่านมาการระบาดของเพลี้ยแป้งชนิดนี้ยังไม่ถึงระดับความเสียหายทางเศรษฐกิจ เนื่องจากมีการควบคุมด้วยศัตรูธรรมชาติคือตัวห้ำและตัวเบียนอย่างสมดุล (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
[[ไฟล์:Image 01.png|thumb|เพลี้ยแป้งลาย (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]]
[[ไฟล์:Image 01.png|thumb|เพลี้ยแป้งลาย (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)|center]]


=== เพลี้ยแป้งแจ๊คเบียดเลย์ (เพลี้ยแป้งสีเทา) ===
=== เพลี้ยแป้งแจ๊คเบียดเลย์ (เพลี้ยแป้งสีเทา) ===
เพลี้ยแป้งแจ๊คเบียดเลย์ (Jack-beardsley mealybug; ''Pseudococcus'' ''jackbeardsleyi'' Gimpel & Miller) มีลักษณะลำตัวรูปไข่และค่อนข้างแบน ผนังลำตัวสีเทาอมชมพู มีผงแป้งสีขาวปกคลุมลำตัว ด้านข้างลำตัวมีเส้นแป้งเรียงกันจำนวนมาก เส้นแป้งที่ปลายส่วนท้องยาวกว่าเส้นแป้งข้างลำตัว พบระบาดทั่วไปในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง ชอบอยู่บริเวณโคนต้นหรือในดิน (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
เพลี้ยแป้งแจ๊คเบียดเลย์ (Jack-beardsley mealybug; ''Pseudococcus'' ''jackbeardsleyi'' Gimpel & Miller) มีลักษณะลำตัวรูปไข่และค่อนข้างแบน ผนังลำตัวสีเทาอมชมพู มีผงแป้งสีขาวปกคลุมลำตัว ด้านข้างลำตัวมีเส้นแป้งเรียงกันจำนวนมาก เส้นแป้งที่ปลายส่วนท้องยาวกว่าเส้นแป้งข้างลำตัว พบระบาดทั่วไปในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง ชอบอยู่บริเวณโคนต้นหรือในดิน (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
[[ไฟล์:Image02.png|thumb|เพลี้ยแป้งแจ๊คเบียดเลย์ (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]]  
[[ไฟล์:Image02.png|thumb|เพลี้ยแป้งแจ๊คเบียดเลย์ (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)|center]]  


=== เพลี้ยแป้งเขียว ===
=== เพลี้ยแป้งเขียว ===
เพลี้ยแป้งสีเขียว (Madeira mealybug; ''Phenococcus madeiresis'' Green) มีลักษณะลำตัวรูปไข่และค่อนข้างแบน ผนังลำตัวสีเขียวอมเหลือง มีผงแป้งสีขาวปกคลุมบาง ๆ บนลำตัว ด้านข้างลำตัวมีเส้นแป้งสั้น เส้นแป้งที่ปลายส่วนท้องยาวกว่าเส้นแป้งข้างลำตัว และที่ลำตัวมีสันนูน 3 แนว ตามความยาวของลำตัว เส้นที่นูนที่สุดอยู่ตรงกลางลำตัว ถุงไข่ของเพลี้ยแป้งสีเขียวอยู่ส่วนหลังบนลำตัว อายุของตัวเต็มวัยขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ หากที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส จะมีอายุประมาณ 30 วัน ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส จะมีอายุประมาณ 46 วัน เพลี้ยแป้งสีเขียวชอบดูดกินอยู่บริเวณใบแก่ พบระบาดในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังบางพื้นที่ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
เพลี้ยแป้งสีเขียว (Madeira mealybug; ''Phenococcus madeiresis'' Green) มีลักษณะลำตัวรูปไข่และค่อนข้างแบน ผนังลำตัวสีเขียวอมเหลือง มีผงแป้งสีขาวปกคลุมบาง ๆ บนลำตัว ด้านข้างลำตัวมีเส้นแป้งสั้น เส้นแป้งที่ปลายส่วนท้องยาวกว่าเส้นแป้งข้างลำตัว และที่ลำตัวมีสันนูน 3 แนว ตามความยาวของลำตัว เส้นที่นูนที่สุดอยู่ตรงกลางลำตัว ถุงไข่ของเพลี้ยแป้งสีเขียวอยู่ส่วนหลังบนลำตัว อายุของตัวเต็มวัยขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ หากที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส จะมีอายุประมาณ 30 วัน ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส จะมีอายุประมาณ 46 วัน เพลี้ยแป้งสีเขียวชอบดูดกินอยู่บริเวณใบแก่ พบระบาดในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังบางพื้นที่ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
[[ไฟล์:Image03.png|thumb|เพลี้ยแป้งสีเขียว (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]]
[[ไฟล์:Image03.png|thumb|เพลี้ยแป้งสีเขียว (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)|center]]
[[ไฟล์:Image07.png|thumb|สภาพแปลงที่เพลี้ยแป้งสีชมพูเข้าทำลายอย่างรุนแรง (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]]  
 
=== เพลี้ยแป้งสีชมพู ===
=== เพลี้ยแป้งสีชมพู ===
เพลี้ยแป้งสีชมพู (Pink mealybug; ''Phenococcus manihoti'' Matile&Ferrero) มีลักษณะลำตัวรูปไข่ ผนังลำตัวสีชมพู มีผงแป้งสีขาวปกคลุมลำตัว ด้านข้างลำตัวมีเส้นแป้งสั้นหรือไม่ปรากฏให้เห็น เส้นแป้งที่ปลายส่วนท้องค่อนข้างสั้น ขยายพันธุ์โดยไม่อาศัยเพศ วางไข่อยู่ในถุงไข่ อยู่เป็นกลุ่ม เพลี้ยแป้งชนิดนี้เป็นชนิดที่สร้างความเสียหายแก่มันสำปะหลังมากที่สุด พบระบาดครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2516 ที่ประเทศคองโก มีการใช้แตนเบียนควบคุมโดยใช้เวลานานกว่า 10 ปี จึงสามารถควบคุมการระบาดของเพลี้ยแป้งสีชมพูได้ สำหรับประเทศไทยเพลี้ยแป้งชนิดนี้เริ่มระบาดในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังเมื่อปี พ.ศ. 2551 และต่อมาได้สร้างความเสียหายต่อผลผลิตมันสำปะหลังอย่างรุนแรง ทำให้เกิดความเสียหายในระดับเศรษฐกิจในทุกพื้นที่ที่มีการปลูกมันสำปะหลัง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
เพลี้ยแป้งสีชมพู (Pink mealybug; ''Phenococcus manihoti'' Matile&Ferrero) มีลักษณะลำตัวรูปไข่ ผนังลำตัวสีชมพู มีผงแป้งสีขาวปกคลุมลำตัว ด้านข้างลำตัวมีเส้นแป้งสั้นหรือไม่ปรากฏให้เห็น เส้นแป้งที่ปลายส่วนท้องค่อนข้างสั้น ขยายพันธุ์โดยไม่อาศัยเพศ วางไข่อยู่ในถุงไข่ อยู่เป็นกลุ่ม เพลี้ยแป้งชนิดนี้เป็นชนิดที่สร้างความเสียหายแก่มันสำปะหลังมากที่สุด พบระบาดครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2516 ที่ประเทศคองโก มีการใช้แตนเบียนควบคุมโดยใช้เวลานานกว่า 10 ปี จึงสามารถควบคุมการระบาดของเพลี้ยแป้งสีชมพูได้ สำหรับประเทศไทยเพลี้ยแป้งชนิดนี้เริ่มระบาดในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังเมื่อปี พ.ศ. 2551 และต่อมาได้สร้างความเสียหายต่อผลผลิตมันสำปะหลังอย่างรุนแรง ทำให้เกิดความเสียหายในระดับเศรษฐกิจในทุกพื้นที่ที่มีการปลูกมันสำปะหลัง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
[[ไฟล์:Image04.png|thumb|เพลี้ยแป้งชมพูหรือเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]]
[[ไฟล์:Image07.png|thumb|สภาพแปลงที่เพลี้ยแป้งสีชมพูเข้าทำลายอย่างรุนแรง (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)|left]][[ไฟล์:Image04.png|thumb|เพลี้ยแป้งชมพูหรือเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)|left]]
[[ไฟล์:Image 05.png|thumb|สภาพแปลงที่พบการระบาดของเพลี้ยแป้งสีชมพู (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]]
[[ไฟล์:Image06.png|thumb|ยอดของต้นมันสำปะหลังที่ถูกเพลี้ยแป้งสีชมพูเข้าทำลาย(ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]]
[[ไฟล์:Image06.png|thumb|ยอดของต้นมันสำปะหลังที่ถูกเพลี้ยแป้งสีชมพูเข้าทำลาย(ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]]


บรรทัดที่ 48: บรรทัดที่ 45:
|มากกว่า 100
|มากกว่า 100
|}
|}
[[ไฟล์:Image 05.png|thumb|สภาพแปลงที่พบการระบาดของเพลี้ยแป้งสีชมพู (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]]
การประเมินการเข้าทำลายของเพลี้ยแป้งในแปลงมันสำปะหลังดังกล่าว จะทำให้สามารถป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้งได้อย่างทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref name=":0">มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.</ref>
การประเมินการเข้าทำลายของเพลี้ยแป้งในแปลงมันสำปะหลังดังกล่าว จะทำให้สามารถป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้งได้อย่างทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref name=":0">มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.</ref>


บรรทัดที่ 102: บรรทัดที่ 100:
   
   
== '''ไรแดง''' ==
== '''ไรแดง''' ==
ไรแดง (Mites) เป็นแมลงศัตรูที่สำคัญอีกชนิดหนึ่งของมันสำปะหลัง โดยไรจะดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบทำให้สูญเสียคลอโรฟิลล์ ไรชนิดที่พบมากในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง คือ ไรแดงหม่อน บางคนเรียกว่า ไรแดงมันสำปะหลัง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ''Tetranychus truncates'' Ehara ไรชนิดนี้ดูดกินน้ำเลี้ยงอยู่ใต้ใบ ทำลายใบแก่และใบเพสลาด หากระบาดรุนแรงจะเคลื่อนย้ายไปดูดกินน้ำเลี้ยงบนยอดอ่อน สร้างเส้นใยปกคุมใบและลำต้น เมื่อไรเริ่มเข้าทำลายจะเห็นเป็นจุดประด่างเหลืองบนผิวด้านบนของใบ ถ้าเข้าทำลายอย่างรุนแรงจะทำให้ใบไหม้และขาดพรุนตรงกลางใบ ใบลู่ลงและเหี่ยวแห้ง ถ้าไรเข้าทำลายในมันสำปะหลังอายุ 1-3 เดือน อาจทำให้ใบร่วง ยอดแห้ง และตายได้ นอกจากนั้นยังพบไรอีก 2 ชนิดที่เป็นศัตรูที่สำคัญ ได้แก่ ไรแมงมุมคันซาบา (''T. kanzawai'' Kishida) และ ไรแมงมุม (''Oligonychus biharensis'' Hirst) พบระบาดรุนแรงในบางพื้นที่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง ในอดีตพบว่า ไรแดงระบาดเป็นครั้งคราวและไม่รุนแรงมาก หากเกษตรกรพ่นสารป้องกันกำจัดไรได้ทันในขณะที่ต้นมันสำปะหลังมีขนาดเล็กก็จะยับยั้งการระบาดของไรได้  
[[ไฟล์:Image 08.png|thumb|ลักษณะอาการบนใบมันสำปะหลังเกิดจากการเข้าทำลายของไร|left]]ไรแดง (Mites) เป็นแมลงศัตรูที่สำคัญอีกชนิดหนึ่งของมันสำปะหลัง โดยไรจะดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบทำให้สูญเสียคลอโรฟิลล์ ไรชนิดที่พบมากในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง คือ ไรแดงหม่อน บางคนเรียกว่า ไรแดงมันสำปะหลัง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ''Tetranychus truncates'' Ehara ไรชนิดนี้ดูดกินน้ำเลี้ยงอยู่ใต้ใบ ทำลายใบแก่และใบเพสลาด หากระบาดรุนแรงจะเคลื่อนย้ายไปดูดกินน้ำเลี้ยงบนยอดอ่อน สร้างเส้นใยปกคุมใบและลำต้น เมื่อไรเริ่มเข้าทำลายจะเห็นเป็นจุดประด่างเหลืองบนผิวด้านบนของใบ ถ้าเข้าทำลายอย่างรุนแรงจะทำให้ใบไหม้และขาดพรุนตรงกลางใบ ใบลู่ลงและเหี่ยวแห้ง ถ้าไรเข้าทำลายในมันสำปะหลังอายุ 1-3 เดือน อาจทำให้ใบร่วง ยอดแห้ง และตายได้ นอกจากนั้นยังพบไรอีก 2 ชนิดที่เป็นศัตรูที่สำคัญ ได้แก่ ไรแมงมุมคันซาบา (''T. kanzawai'' Kishida) และ ไรแมงมุม (''Oligonychus biharensis'' Hirst) พบระบาดรุนแรงในบางพื้นที่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง ในอดีตพบว่า ไรแดงระบาดเป็นครั้งคราวและไม่รุนแรงมาก หากเกษตรกรพ่นสารป้องกันกำจัดไรได้ทันในขณะที่ต้นมันสำปะหลังมีขนาดเล็กก็จะยับยั้งการระบาดของไรได้  


=== ลักษณะอาการ ===
=== ลักษณะอาการ ===
บรรทัดที่ 109: บรรทัดที่ 107:
=== การป้องกันกำจัด ===
=== การป้องกันกำจัด ===
หลีกเลี่ยงการปลูกมันสำปะหลังในช่วงที่จะทำให้มันสำปะหลังกระทบแล้งตั้งแต่ช่วงต้นเล็กหรืออายุน้อยอยู่ เก็บส่วนของพืชที่มีไรอยู่ไปเผาทำลายทิ้ง ถ้าพบการระบาดของไรรุนแรง ให้ใช้สารฆ่าแมลง ได้แก่ อีโทเฟนพรอกซ์ (etofenprox) และไดโคฟอล ฉีดพ่นตามคำแนะนำในฉลาก (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
หลีกเลี่ยงการปลูกมันสำปะหลังในช่วงที่จะทำให้มันสำปะหลังกระทบแล้งตั้งแต่ช่วงต้นเล็กหรืออายุน้อยอยู่ เก็บส่วนของพืชที่มีไรอยู่ไปเผาทำลายทิ้ง ถ้าพบการระบาดของไรรุนแรง ให้ใช้สารฆ่าแมลง ได้แก่ อีโทเฟนพรอกซ์ (etofenprox) และไดโคฟอล ฉีดพ่นตามคำแนะนำในฉลาก (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
[[ไฟล์:Image 08.png|thumb|ลักษณะอาการบนใบมันสำปะหลังเกิดจากการเข้าทำลายของไร]]
== '''แมลงหวี่ขาว''' ==
== '''แมลงหวี่ขาว''' ==
[[ไฟล์:Image559.png|left|thumb|510x510px|ภาพแสดงแมลงหวี่ขาวยาสูบ]]
ในมันสำปะหลังพบแมลงหวี่ขาว 2 ชนิด คือ แมลงหวี่ขาวยาสูบ ชื่อวิทยาศาสตร์ ''Bemisia tabaci'' (Gennadius) และแมลงหวี่ขาวใยเกลียว ชื่อวิทยาศาสตร์ ''Aleurodicus disperses'' Russell โดยแมลงหวี่ขาวใยเกลียว ตัวเต็มวัยมีขนาดประมาณ 2 มิลลิเมตร ลำตัวสีเหลืองอ่อน ปีกคลุมด้วยผงสีขาวคล้ายผงแป้ง วางไข่เป็นรูปวงกลมด้านหลังใบมันสำปะหลัง ลักษณะเป็นวงเกลียวมีเส้นใยสีขาวปกคลุม แต่ละวงจะมีไข่ประมาณ 14-26 ฟอง ระยะไข่ใช้เวลา 7 วัน ตัวอ่อนมีเส้นใยสีขาวปกคลุมทั่วลำตัว มี 4 ระยะใช้เวลา 30 วัน โดยตัวอ่อนระยะ 1 จะแขวนอยู่บนใบพืช ส่วนตัวอ่อนระยะอื่นจะไม่เคลื่อนไหว ตัวเต็มวัยมีอายุประมาณ 3-7 วัน ส่วนแมลงหวี่ขาวยาสูบ ตัวเต็มวัยมีความยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร ลำตัวสีเหลืองอ่อน ปีกสีขาว ตาสีดำ ไข่มีขนาด 0.1-0.3 มิลลิเมตร ตัวอ่อนสีเหลืองใส ลักษณะแบนราบติดไปกับผิวใบมันสำปะหลังลอกคราบ 3 ครั้ง ระยะตัวอ่อน 11-18 วัน ดักแด้ตัวจะนูนสีเหลืองเข้มขึ้นตาสีแดง มีขนาดประมาณ 0.6-0.8 มิลลิเมตร ตัวเต็มวัยจะออกจากดักแด้ตรงรอยแตกที่ส่วนอก เพศเมียสามารถวางไข่ได้สูงสุดมากกว่าร้อยฟอง ตัวเต็มวัยมีอายุประมาณ 2-11 วัน มีการสืบพันธุ์แบบ parthenogenesis (การออกลูกเป็นตัวโดยไม่มีการสืบพันธุ์) (สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช,  2559)<ref>สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช.  2559. คู่มือการจัดการ ปัญหาศัตรูมันสำปะหลังแบบผสมผสาน. การันตี, กรุงเทพฯ.</ref>
ในมันสำปะหลังพบแมลงหวี่ขาว 2 ชนิด คือ แมลงหวี่ขาวยาสูบ ชื่อวิทยาศาสตร์ ''Bemisia tabaci'' (Gennadius) และแมลงหวี่ขาวใยเกลียว ชื่อวิทยาศาสตร์ ''Aleurodicus disperses'' Russell โดยแมลงหวี่ขาวใยเกลียว ตัวเต็มวัยมีขนาดประมาณ 2 มิลลิเมตร ลำตัวสีเหลืองอ่อน ปีกคลุมด้วยผงสีขาวคล้ายผงแป้ง วางไข่เป็นรูปวงกลมด้านหลังใบมันสำปะหลัง ลักษณะเป็นวงเกลียวมีเส้นใยสีขาวปกคลุม แต่ละวงจะมีไข่ประมาณ 14-26 ฟอง ระยะไข่ใช้เวลา 7 วัน ตัวอ่อนมีเส้นใยสีขาวปกคลุมทั่วลำตัว มี 4 ระยะใช้เวลา 30 วัน โดยตัวอ่อนระยะ 1 จะแขวนอยู่บนใบพืช ส่วนตัวอ่อนระยะอื่นจะไม่เคลื่อนไหว ตัวเต็มวัยมีอายุประมาณ 3-7 วัน ส่วนแมลงหวี่ขาวยาสูบ ตัวเต็มวัยมีความยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร ลำตัวสีเหลืองอ่อน ปีกสีขาว ตาสีดำ ไข่มีขนาด 0.1-0.3 มิลลิเมตร ตัวอ่อนสีเหลืองใส ลักษณะแบนราบติดไปกับผิวใบมันสำปะหลังลอกคราบ 3 ครั้ง ระยะตัวอ่อน 11-18 วัน ดักแด้ตัวจะนูนสีเหลืองเข้มขึ้นตาสีแดง มีขนาดประมาณ 0.6-0.8 มิลลิเมตร ตัวเต็มวัยจะออกจากดักแด้ตรงรอยแตกที่ส่วนอก เพศเมียสามารถวางไข่ได้สูงสุดมากกว่าร้อยฟอง ตัวเต็มวัยมีอายุประมาณ 2-11 วัน มีการสืบพันธุ์แบบ parthenogenesis (การออกลูกเป็นตัวโดยไม่มีการสืบพันธุ์) (สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช,  2559)<ref>สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช.  2559. คู่มือการจัดการ ปัญหาศัตรูมันสำปะหลังแบบผสมผสาน. การันตี, กรุงเทพฯ.</ref>


บรรทัดที่ 134: บรรทัดที่ 131:


== '''ปลวก''' ==
== '''ปลวก''' ==
[[ไฟล์:S 46923820.jpg|left|thumb|ลักษณะการเข้าทำลายของปลวก]]
[[ไฟล์:S 46923838.jpg|thumb|226x226px|ภาพแสดงการเข้าไปอยู่ภายในลำต้นมันสำปะหลัง]]
ชื่อวิทยาศาสตร์ ''Odontotermes takensis'' (Ahmad) มีลักษณะคล้ายมดแต่มีลำตัวสีขาว มีการสร้างทางเดินที่มีดินหุ้มเพื่อรักษาความชื้น ซึ่งจะเห็นดินเป็นทางยาวตามลำต้นหรือเป็นแผ่นหุ้มทั้งลำต้น ปลวกอยู่รวมกันเป็นสังคม รังของปลวกอาจเป็นจอมปลวกเหนือดินหรือ อยู่ใต้ดิน ในฤดูแล้งมักพบปัญหาปลวกกัดกินต้นและหัวมันสำปะหลัง การทำลายของปลวกสังเกตได้จากดินที่พอกอยู่บริเวณโคนต้นมันสำปะหลัง (อุดมศักดิ์,  2555)
ชื่อวิทยาศาสตร์ ''Odontotermes takensis'' (Ahmad) มีลักษณะคล้ายมดแต่มีลำตัวสีขาว มีการสร้างทางเดินที่มีดินหุ้มเพื่อรักษาความชื้น ซึ่งจะเห็นดินเป็นทางยาวตามลำต้นหรือเป็นแผ่นหุ้มทั้งลำต้น ปลวกอยู่รวมกันเป็นสังคม รังของปลวกอาจเป็นจอมปลวกเหนือดินหรือ อยู่ใต้ดิน ในฤดูแล้งมักพบปัญหาปลวกกัดกินต้นและหัวมันสำปะหลัง การทำลายของปลวกสังเกตได้จากดินที่พอกอยู่บริเวณโคนต้นมันสำปะหลัง (อุดมศักดิ์,  2555)
[[ไฟล์:Image12.png|thumb|ลักษณะของปลวก]]
[[ไฟล์:Image13.png|thumb|ลักษณะของปลวก]]
=== การป้องกันกำจัด ===
=== การป้องกันกำจัด ===
ทำการป้องกันก่อนการปลูกด้วยสารเคมี อิมิดาคลอพริด อัตรา 10 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร แช่ท่อนพันธุ์ หากมีการระบาดในช่วงหลังปลูก ให้พ้นที่โคนต้นด้วยสาร ฟีโพรนิล อัตราส่วน 80 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร (อุดมศักดิ์,  2555)
ทำการป้องกันก่อนการปลูกด้วยสารเคมี อิมิดาคลอพริด อัตรา 10 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร แช่ท่อนพันธุ์ หากมีการระบาดในช่วงหลังปลูก ให้พ้นที่โคนต้นด้วยสาร ฟีโพรนิล อัตราส่วน 80 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร (อุดมศักดิ์,  2555)


== '''แมลงนูนหลวง''' ==
== '''แมลงนูนหลวง''' ==
134

การแก้ไข