ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง"

การเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง
(การเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง)
 
(ไม่แสดง 9 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
มันสำปะหลัง เป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศไทย ซึ่งประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังรายใหญ่ที่สุดของโลก ในปี 2556 มีการส่งออกในรูปมันเส้นและมันอัดเม็ดประมาณ 3 ล้านตัน และส่งออกในรูปแป้งมันสำปะหลังประมาณ 1.32 ล้านตัน โดยมีมูลค่าการส่งออกรวมมากกว่า 50,000 ล้านบาท พื้นที่ผลิตมันสำปะหลังของประเทศไทยประมาณ 6.52 ล้านไร่ กระจายอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคเหนือ คิดเป็น 54.74 31.74 และ 13.52 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ทั้งหมดตามลำดับ ได้ผลผลิตรวมประมาณ 30 ล้านตันหัวมันสด<ref>สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2556. สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำคัญและแนวโน้มปี 2556: มันสำปะหลัง. แหล่งที่มา: <nowiki>http://www.oae.go.th/ewt_news.php?nid=13577</nowiki>.</ref>
[[ไฟล์:การเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง.png|alt=การเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง|thumb|การเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง]]
มันสำปะหลัง เป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศไทย ซึ่งประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังรายใหญ่ที่สุดของโลก ในปี 2556 มีการส่งออกในรูปมันเส้นและมันอัดเม็ดประมาณ 3 ล้านตัน และส่งออกในรูปแป้งมันสำปะหลังประมาณ 1.32 ล้านตัน โดยมีมูลค่าการส่งออกรวมมากกว่า 50,000 ล้านบาท พื้นที่ผลิตมันสำปะหลังของประเทศไทยประมาณ 6.52 ล้านไร่ กระจายอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคเหนือ คิดเป็น 54.74 31.74 และ 13.52 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ทั้งหมดตามลำดับ ได้ผลผลิตรวมประมาณ 30 ล้านตันหัวมันสด<ref>สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2556. สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำคัญและแนวโน้มปี 2556: มันสำปะหลัง. แหล่งที่มา: <nowiki>http://www.oae.go.th/ewt_news.php?nid=13577</nowiki>.</ref>  


ระบบการผลิตมันสำปะหลังของเกษตรกรโดยทั่วไป ประกอบด้วยขั้นตอนย่อย ๆ หลายขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนการเตรียมดิน การปลูก การบำรุงรักษา การจัดการวัชพืช การจัดการด้านโรค-แมลง การเก็บเกี่ยว และรวบรวมหัวมันขึ้นรถบรรทุก ซึ่งเกษตรกรจะนำเครื่องมือจักรกลเกษตรเข้ามาช่วยดำเนินการในบางขั้นตอน แต่โดยทั่วไปยังคงใช้แรงงานคนทำงานเป็นหลัก ขั้นตอนเก็บเกี่ยวและรวบรวมหัวมันขึ้นรถบรรทุกเป็นขั้นตอนที่ใช้แรงงานมากที่สุด โดยมีค่าเท่ากับ 54.5 เปอร์เซ็นต์ของแรงงานทั้งหมด และยังพบว่าค่าใช้จ่ายด้านค่าจ้างแรงงานมีมูลค่าถึง 60 เปอร์เซ็นต์ของต้นทุนการผลิตทั้งหมด<ref name=":0">Sukra, A.B. 1996. Performance of API cassava root digger elevator. MARDI Report, no. 187.  Agricultural Research and Development Institute, Kuala Lumpur.</ref>
ระบบการผลิตมันสำปะหลังของเกษตรกรโดยทั่วไป ประกอบด้วยขั้นตอนย่อย ๆ หลายขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนการเตรียมดิน การปลูก การบำรุงรักษา การจัดการวัชพืช การจัดการด้านโรค-แมลง การเก็บเกี่ยว และรวบรวมหัวมันขึ้นรถบรรทุก ซึ่งเกษตรกรจะนำเครื่องมือจักรกลเกษตรเข้ามาช่วยดำเนินการในบางขั้นตอน แต่โดยทั่วไปยังคงใช้แรงงานคนทำงานเป็นหลัก ขั้นตอนเก็บเกี่ยวและรวบรวมหัวมันขึ้นรถบรรทุกเป็นขั้นตอนที่ใช้แรงงานมากที่สุด โดยมีค่าเท่ากับ 54.5 เปอร์เซ็นต์ของแรงงานทั้งหมด และยังพบว่าค่าใช้จ่ายด้านค่าจ้างแรงงานมีมูลค่าถึง 60 เปอร์เซ็นต์ของต้นทุนการผลิตทั้งหมด<ref name=":0">Sukra, A.B. 1996. Performance of API cassava root digger elevator. MARDI Report, no. 187.  Agricultural Research and Development Institute, Kuala Lumpur.</ref>
บรรทัดที่ 54: บรรทัดที่ 55:


          เนื่องจากการเก็บเกี่ยวมันสําปะหลัง ต้องใช้แรงงานจํานวนมากเช่น โรงงานผลิตแป้งมันขนาด 150 ตันแป้ง/วัน ต้องใช้หัวมันสําปะหลังสด 650–750 ตัน ซึ่งต้องใช้คนขุด 650–750 คนต่อวัน เป็นต้น<ref>ศุภวัฒน์ ปากเมย. 2540. การออกแบบและประเมินผลเครื่องขุดมันสําปะหลัง. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตรคณะวิศวกรรมศาสตร์. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.</ref> จากการศึกษาลักษณะของแรงงานที่ใช้ในการดําเนินงานภายหลังเก็บเกี่ยว<ref>เชิดพงษ์ เชี่ยวชาญวัฒนา. 2549. การออกแบบและทดสอบอุปกรณ์ช่วยขนย้ายมันสําปะหลังขึ้นรถบรรทุก. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตรคณะวิศวกรรมศาสตร์. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.</ref> พบว่าโดยทั่วไปเป็นแรงงานภายในหมู่บ้านของเกษตรกรเอง และหมู่บ้านใกล้เคียง ซึ่งมีทั้งแรงงานวัยทํางานทั้งเพศชายและหญิง และแรงงานเด็กการเก็บเกี่ยวในพื้นที่ของเกษตรกรรายย่อย โดยทั่วไปจะเก็บเกี่ยวโดยใช้แรงงานในครัวเรือนเป็นหลักในการดําเนินการจึงมีอัตราการเก็บเกี่ยวช้าและต้องรอรวบรวมผลผลิตหัวมันสดให้เต็มรถบรรทุกเพื่อประหยัดค่าขนส่งโดยทั่วไปใช้เวลารวบรวมประมาณ 1-3 วัน
          เนื่องจากการเก็บเกี่ยวมันสําปะหลัง ต้องใช้แรงงานจํานวนมากเช่น โรงงานผลิตแป้งมันขนาด 150 ตันแป้ง/วัน ต้องใช้หัวมันสําปะหลังสด 650–750 ตัน ซึ่งต้องใช้คนขุด 650–750 คนต่อวัน เป็นต้น<ref>ศุภวัฒน์ ปากเมย. 2540. การออกแบบและประเมินผลเครื่องขุดมันสําปะหลัง. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตรคณะวิศวกรรมศาสตร์. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.</ref> จากการศึกษาลักษณะของแรงงานที่ใช้ในการดําเนินงานภายหลังเก็บเกี่ยว<ref>เชิดพงษ์ เชี่ยวชาญวัฒนา. 2549. การออกแบบและทดสอบอุปกรณ์ช่วยขนย้ายมันสําปะหลังขึ้นรถบรรทุก. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตรคณะวิศวกรรมศาสตร์. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.</ref> พบว่าโดยทั่วไปเป็นแรงงานภายในหมู่บ้านของเกษตรกรเอง และหมู่บ้านใกล้เคียง ซึ่งมีทั้งแรงงานวัยทํางานทั้งเพศชายและหญิง และแรงงานเด็กการเก็บเกี่ยวในพื้นที่ของเกษตรกรรายย่อย โดยทั่วไปจะเก็บเกี่ยวโดยใช้แรงงานในครัวเรือนเป็นหลักในการดําเนินการจึงมีอัตราการเก็บเกี่ยวช้าและต้องรอรวบรวมผลผลิตหัวมันสดให้เต็มรถบรรทุกเพื่อประหยัดค่าขนส่งโดยทั่วไปใช้เวลารวบรวมประมาณ 1-3 วัน
[[ไฟล์:การขุดมันสำปะหลัง.jpg|alt=การขุดมันสำปะหลัง|thumb|การขุดมันสำปะหลัง]]


== '''การขุดเก็บเกี่ยว''' ==
== '''การขุดเก็บเกี่ยว''' ==
บรรทัดที่ 65: บรรทัดที่ 67:


=== ขั้นตอนการขุดเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง แบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอน (กรณีเก็บเกี่ยวในแปลงขนาด 100 ไร่) ดังนี้ ===
=== ขั้นตอนการขุดเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง แบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอน (กรณีเก็บเกี่ยวในแปลงขนาด 100 ไร่) ดังนี้ ===
'''1. การตัดต้นพันธุ์'''
[[ไฟล์:กองรวมท่อนพันธ์ุมันสำปะหลัง.png|alt=กองรวมท่อนพันธ์ุมันสำปะหลัง|thumb|กองรวมต้นพันธ์ุมันสำปะหลัง]]
[[ไฟล์:การตัดท่อนพันธ์ุมันสำปะหลัง.png|alt=การตัดท่อนพันธ์ุมันสำปะหลัง|thumb|การตัดต้นพันธ์ุมันสำปะหลัง]]
[[ไฟล์:การตัดท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง.png|alt=การตัดท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง|thumb|การตัดท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง]]
'''1. การตัดต้นพันธุ์'''


การขุดหัวมันสำปะหลังโดยใช้รถไถขุดจำเป็นต้องตัดต้นพันธุ์ออกก่อน โดยปกติแรงงานทั่วไป 1 คน สามารถตัดต้นพันธุ์ได้ประมาณ 2,000 ลำ ดังนั้นพื้นที่ 1 ไร่ต้องใช้แรงงานตัดประมาณ 1.5-2 แรง หรือ 150-200 แรงต่อพื้นที่ 100 ไร่ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความยากง่ายในการตัดในแต่ละพันธุ์และความหนาแน่นของประชากรที่ปลูก ในกรณีที่ไม่ต้องเก็บต้นพันธุ์ไว้ปลูกต่อ และลดต้นทุนในการตัดต้นพันธุ์สามารถใช้เครื่องสับย่อยต้นมันสำปะหลังเข้าไปทำงานในแปลงได้ เศษต้นและใบที่ผ่านการสับย่อยก็จะตกอยู่ในแปลงเป็นการเพิ่มปุ๋ยหรืออินทรียวัตถุให้กับดิน
การขุดหัวมันสำปะหลังโดยใช้รถไถขุดจำเป็นต้องตัดต้นพันธุ์ออกก่อน โดยปกติแรงงานทั่วไป 1 คน สามารถตัดต้นพันธุ์ได้ประมาณ 2,000 ลำ ดังนั้นพื้นที่ 1 ไร่ต้องใช้แรงงานตัดประมาณ 1.5-2 แรง หรือ 150-200 แรงต่อพื้นที่ 100 ไร่ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความยากง่ายในการตัดในแต่ละพันธุ์และความหนาแน่นของประชากรที่ปลูก ในกรณีที่ไม่ต้องเก็บต้นพันธุ์ไว้ปลูกต่อ และลดต้นทุนในการตัดต้นพันธุ์สามารถใช้เครื่องสับย่อยต้นมันสำปะหลังเข้าไปทำงานในแปลงได้ เศษต้นและใบที่ผ่านการสับย่อยก็จะตกอยู่ในแปลงเป็นการเพิ่มปุ๋ยหรืออินทรียวัตถุให้กับดิน
บรรทัดที่ 72: บรรทัดที่ 77:


โดยปกติหากเป็นการขุดในฤดูฝนซึ่งดินมีความชื้นสูงในเขตพื้นที่ดินทราย หรือทรายปนร่วน ซึ่งโครงสร้างดินมีความร่วนซุยสูง สามารถใช้แรงงานคนถอนทั้งต้นโดยไม่ต้องตัดต้นพันธุ์ออกก่อนจะช่วยประหยัดค่าแรงงานตัดต้นพันธุ์และค่ารถไถขุดหัวมันสำปะหลังได้อีกทางหนึ่ง แต่หากในช่วงฤดูแล้ง ดินแห้งและแข็งไม่สามารถถอนโดยใช้แรงงานคนได้ จำเป็นต้องใช้รถแทรคเตอร์ติดพ่วงเครื่องขุดหัวมันสำปะหลังขุดแทนแรงงานคน ประสิทธิภาพการทำงานของรถแทรคเตอร์ติดพ่วงเครื่องขุด 1 คัน สามารถทำงานได้ประมาณ 12-15 ไร่ ดังนั้นหากมีพื้นที่ 100 ไร่ จำเป็นต้องใช้รถขุดเก็บเกี่ยวประมาณ 6-7 คัน
โดยปกติหากเป็นการขุดในฤดูฝนซึ่งดินมีความชื้นสูงในเขตพื้นที่ดินทราย หรือทรายปนร่วน ซึ่งโครงสร้างดินมีความร่วนซุยสูง สามารถใช้แรงงานคนถอนทั้งต้นโดยไม่ต้องตัดต้นพันธุ์ออกก่อนจะช่วยประหยัดค่าแรงงานตัดต้นพันธุ์และค่ารถไถขุดหัวมันสำปะหลังได้อีกทางหนึ่ง แต่หากในช่วงฤดูแล้ง ดินแห้งและแข็งไม่สามารถถอนโดยใช้แรงงานคนได้ จำเป็นต้องใช้รถแทรคเตอร์ติดพ่วงเครื่องขุดหัวมันสำปะหลังขุดแทนแรงงานคน ประสิทธิภาพการทำงานของรถแทรคเตอร์ติดพ่วงเครื่องขุด 1 คัน สามารถทำงานได้ประมาณ 12-15 ไร่ ดังนั้นหากมีพื้นที่ 100 ไร่ จำเป็นต้องใช้รถขุดเก็บเกี่ยวประมาณ 6-7 คัน
 
[[ไฟล์:กองมันสำปะหลัง.png|alt=กองมันสำปะหลัง|thumb|กองมันสำปะหลัง]]
'''3. การรวมกองและสับหัวมันสำปะหลังออกจากเหง้า'''
'''3. การรวมกองและสับหัวมันสำปะหลังออกจากเหง้า'''  


ขั้นตอนนี้เป็นการตามเก็บหัวมันสำปะหลังที่รถไถขุดขึ้นมา แล้วโยนกองเป็นกลุ่มเพื่อให้สะดวกต่อการสับหัวออกจากเหง้าและขนขึ้นรถบรรทุก ปัจจุบันยังไม่มีเครื่องจักรหรือเครื่องทุ่นแรงใด ๆ มาช่วยในขั้นตอนนี้ ยังคงจำเป็นต้องใช้แรงงานคนเป็นหลัก
ขั้นตอนนี้เป็นการตามเก็บหัวมันสำปะหลังที่รถไถขุดขึ้นมา แล้วโยนกองเป็นกลุ่มเพื่อให้สะดวกต่อการสับหัวออกจากเหง้าและขนขึ้นรถบรรทุก ปัจจุบันยังไม่มีเครื่องจักรหรือเครื่องทุ่นแรงใด ๆ มาช่วยในขั้นตอนนี้ ยังคงจำเป็นต้องใช้แรงงานคนเป็นหลัก
บรรทัดที่ 79: บรรทัดที่ 84:
'''4. การขนหัวมันสำปะหลังขึ้นรถบรรทุกเพื่อส่งโรงงาน'''
'''4. การขนหัวมันสำปะหลังขึ้นรถบรรทุกเพื่อส่งโรงงาน'''


หลังจากสับหัวออกจากเหง้าแล้ว ต้องใช้แรงงานเก็บหัวมันสำปะหลังใส่เข่งหรือภาชนะอื่นแล้วใช้คนแบกขึ้นรถบรรทุก ขั้นตอนนี้ต้องใช้แรงงานค่อนข้างมาก ปัจจุบันมีการคิดค้นออกแบบเครื่องลำเลียงหัวมันสำปะหลังขึ้นรถบรรทุกแทนการใช้แรงงานคนแบก แต่ยังทำงานได้ช้าและไม่คล่องตัวเมื่อต้องย้ายรถบรรทุกไปยังจุดอื่น ๆ อยู่ตลอดเวลา แนวทางที่จะช่วยลดแรงงานได้อีกทางหนึ่ง คือ การใช้รถแทรคเตอร์ติดอุปกรณ์ตักหัวมันสำปะหลังทางด้านหน้า สามารถยกหัวมันสำปะหลังใส่รถบรรทุกได้ครั้งละ 300-500 กิโลกรัม (ขึ้นอยู่กับขนาดของตัก) จะช่วยลดจำนวนแรงงานในการแบกและช่วยให้ทำงานได้รวดเร็วขึ้น[[ไฟล์:การขุดเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง.jpg|thumb|343x343px|'''การขุดเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง''']]
หลังจากสับหัวออกจากเหง้าแล้ว ต้องใช้แรงงานเก็บหัวมันสำปะหลังใส่เข่งหรือภาชนะอื่นแล้วใช้คนแบกขึ้นรถบรรทุก ขั้นตอนนี้ต้องใช้แรงงานค่อนข้างมาก ปัจจุบันมีการคิดค้นออกแบบเครื่องลำเลียงหัวมันสำปะหลังขึ้นรถบรรทุกแทนการใช้แรงงานคนแบก แต่ยังทำงานได้ช้าและไม่คล่องตัวเมื่อต้องย้ายรถบรรทุกไปยังจุดอื่น ๆ อยู่ตลอดเวลา แนวทางที่จะช่วยลดแรงงานได้อีกทางหนึ่ง คือ การใช้รถแทรคเตอร์ติดอุปกรณ์ตักหัวมันสำปะหลังทางด้านหน้า สามารถยกหัวมันสำปะหลังใส่รถบรรทุกได้ครั้งละ 300-500 กิโลกรัม (ขึ้นอยู่กับขนาดของตัก) จะช่วยลดจำนวนแรงงานในการแบกและช่วยให้ทำงานได้รวดเร็วขึ้น[[ไฟล์:การขุดเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง.jpg|thumb|343x343px|การขุดเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง]]


=== วิธีการขุดเก็บเกี่ยวและขนส่งผลผลิตออกไปสู่โรงงาน ===
=== วิธีการขุดเก็บเกี่ยวและขนส่งผลผลิตออกไปสู่โรงงาน ===
บรรทัดที่ 87: บรรทัดที่ 92:


วิธีนี้เหมาะสำหรับพื้นที่ที่มีโครงสร้างดินร่วนซุย ไม่แน่นแข็ง หรือกรณีที่ขุดเก็บเกี่ยวในช่วงฤดูฝนซึ่งดินมีความชื้นสูง และไม่มีปัญหาด้านแรงงานหรือแรงงานมีราคาถูก ทำได้โดยใช้แรงงานคนถอนมันสำปะหลังทั้งต้นโดยไม่ต้องตัดต้นพันธุ์ออกก่อน แล้ววางให้เป็นแถวเพื่อสะดวกในการสับหัวออกจากเหง้า จากนั้นจึงใช้คนแบกขึ้นรถบรรทุก โดยเฉลี่ยมันสำปะหลังที่ให้ผลผลิตประมาณ 4 ตัน/ไร่ ต้องใช้แรงงานประมาณ 6-8 แรง วิธีนี้จึงใช้แรงงานมากและทำได้ช้า จึงแนะนำให้ใช้ในกรณีที่รถไถขุดไม่สามารถเข้าทำงานในแปลงได้ และควรใช้ระบบการจ้างเหมาต่อน้ำหนักหัวสดที่ขุดเก็บเกี่ยวได้ จะช่วยให้สามารถควบคุมต้นทุนขุดเก็บเกี่ยวได้
วิธีนี้เหมาะสำหรับพื้นที่ที่มีโครงสร้างดินร่วนซุย ไม่แน่นแข็ง หรือกรณีที่ขุดเก็บเกี่ยวในช่วงฤดูฝนซึ่งดินมีความชื้นสูง และไม่มีปัญหาด้านแรงงานหรือแรงงานมีราคาถูก ทำได้โดยใช้แรงงานคนถอนมันสำปะหลังทั้งต้นโดยไม่ต้องตัดต้นพันธุ์ออกก่อน แล้ววางให้เป็นแถวเพื่อสะดวกในการสับหัวออกจากเหง้า จากนั้นจึงใช้คนแบกขึ้นรถบรรทุก โดยเฉลี่ยมันสำปะหลังที่ให้ผลผลิตประมาณ 4 ตัน/ไร่ ต้องใช้แรงงานประมาณ 6-8 แรง วิธีนี้จึงใช้แรงงานมากและทำได้ช้า จึงแนะนำให้ใช้ในกรณีที่รถไถขุดไม่สามารถเข้าทำงานในแปลงได้ และควรใช้ระบบการจ้างเหมาต่อน้ำหนักหัวสดที่ขุดเก็บเกี่ยวได้ จะช่วยให้สามารถควบคุมต้นทุนขุดเก็บเกี่ยวได้
 
[[ไฟล์:การตัดหัวมันสำปะหลังโดยใช้แรงงานคน.png|alt=การตัดหัวมันสำปะหลังโดยใช้แรงงานคน|thumb|การตัดหัวมันสำปะหลังโดยใช้แรงงานคน]]
'''''วิธีที่ 2 ขุดหัวโดยใช้เครื่องขุด รวบรวมหัว สับหัว และขนขึ้นรถบรรทุกโดยใช้แรงงานคน'''''
'''''วิธีที่ 2 ขุดหัวโดยใช้เครื่องขุด รวบรวมหัว สับหัว และขนขึ้นรถบรรทุกโดยใช้แรงงานคน'''''


วิธีนี้เหมาะสำหรับการขุดในพื้นที่ที่ดินแน่นแข็ง ความชื้นในดินต่ำ หรือการเก็บเกี่ยวในช่วงฤดูแล้ง โดยต้องตัดต้นพันธุ์และขนออกจากแปลงก่อน โดยทั่วไปแรงงาน 1 คน สามารถตัดต้นพันธุ์ได้ประมาณ 2,000 ลำ ดังนั้นพื้นที่ขนาด 1 ไร่ ต้องใช้แรงงานตัดประมาณ 1.5-2 แรง หรือ 150-200 แรงต่อพื้นที่ 100 ไร่ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความยากง่ายในการตัดในแต่ละพันธุ์และความหนาแน่นของประชากรที่ปลูก แล้วใช้รถไถติดเครื่องขุดหัวมันสำปะหลังทำการไถขุดให้หัวมันสำปะหลังขึ้นมาอยู่บนผิวดิน จากนั้นจึงใช้แรงงานคนเก็บรวมกอง สับหัวออกจากเหง้า แล้วใช้แรงงานคนแบกขึ้นรถบรรทุกเพื่อส่งเข้าโรงงานต่อไป
วิธีนี้เหมาะสำหรับการขุดในพื้นที่ที่ดินแน่นแข็ง ความชื้นในดินต่ำ หรือการเก็บเกี่ยวในช่วงฤดูแล้ง โดยต้องตัดต้นพันธุ์และขนออกจากแปลงก่อน โดยทั่วไปแรงงาน 1 คน สามารถตัดต้นพันธุ์ได้ประมาณ 2,000 ลำ ดังนั้นพื้นที่ขนาด 1 ไร่ ต้องใช้แรงงานตัดประมาณ 1.5-2 แรง หรือ 150-200 แรงต่อพื้นที่ 100 ไร่ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความยากง่ายในการตัดในแต่ละพันธุ์และความหนาแน่นของประชากรที่ปลูก แล้วใช้รถไถติดเครื่องขุดหัวมันสำปะหลังทำการไถขุดให้หัวมันสำปะหลังขึ้นมาอยู่บนผิวดิน จากนั้นจึงใช้แรงงานคนเก็บรวมกอง สับหัวออกจากเหง้า แล้วใช้แรงงานคนแบกขึ้นรถบรรทุกเพื่อส่งเข้าโรงงานต่อไป
บรรทัดที่ 133: บรรทัดที่ 138:


ต้นกำลังที่ใช้ในกระบวนการปลูกมันสำปะหลัง ทำหน้าที่ตั้งแต่กระบวนการเตรียมดิน การปลูก ดูแลรักษาและการเก็บเกี่ยวเป็นรถแทรกเตอร์นั่งขับแบบ 4 ล้อ ขนาด 35-90 แรงม้าเป็นต้น (ชัยยันต์, 2560)<ref name=":5" />
ต้นกำลังที่ใช้ในกระบวนการปลูกมันสำปะหลัง ทำหน้าที่ตั้งแต่กระบวนการเตรียมดิน การปลูก ดูแลรักษาและการเก็บเกี่ยวเป็นรถแทรกเตอร์นั่งขับแบบ 4 ล้อ ขนาด 35-90 แรงม้าเป็นต้น (ชัยยันต์, 2560)<ref name=":5" />
 
[[ไฟล์:เครืองแมคโครขุดมันสำปะหลัง.png|alt=เครือง แมคโครขุดมันสำปะหลัง|thumb|เครื่องแมคโครขุดมันสำปะหลัง]]
'''เครื่องขุดมันสำปะหลัง'''
'''เครื่องขุดมันสำปะหลัง'''  


กระบวนการปลูกมันสำปะหลังในปัจจุบัน ใช้รถแทรกเตอร์เป็นต้นกำลังในการเตรียมดินและมีลักษณะการปลูกแบบยกร่องและปักท่อนพันธ์เป็นเส้นตรงตามความยาวของแถว เครื่องขุดมันสำปะหลังส่วนใหญ่จึงออกแบบมาให้ใช้ในการขุดแบบเปิดหรือระเบิดดินออกด้านข้างเพื่อให้หัวมันและเหง้ามันสำปะหลังขึ้นมาอยู่ด้านบนผิวดิน ซึ่งการออกแบบหัวขุดในปัจจุบันมีหลากหลายรูปทรง เช่น ทรงเหลี่ยม ครึ่งวงกลม แบบหัวหมู และทำมุมการขุดอยู่ระหว่าง 30-33 องศา<ref>สามารถ บุญอาจ. 2543. การออกแบบและพัฒนาเครื่องเก็บหัวมันสำปะหลังแบบติดพ่วงกับรถแทรกเตอร์.  วิทยานิพนธ์ปริญญาโท.  สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.</ref>
กระบวนการปลูกมันสำปะหลังในปัจจุบัน ใช้รถแทรกเตอร์เป็นต้นกำลังในการเตรียมดินและมีลักษณะการปลูกแบบยกร่องและปักท่อนพันธ์เป็นเส้นตรงตามความยาวของแถว เครื่องขุดมันสำปะหลังส่วนใหญ่จึงออกแบบมาให้ใช้ในการขุดแบบเปิดหรือระเบิดดินออกด้านข้างเพื่อให้หัวมันและเหง้ามันสำปะหลังขึ้นมาอยู่ด้านบนผิวดิน ซึ่งการออกแบบหัวขุดในปัจจุบันมีหลากหลายรูปทรง เช่น ทรงเหลี่ยม ครึ่งวงกลม แบบหัวหมู และทำมุมการขุดอยู่ระหว่าง 30-33 องศา<ref>สามารถ บุญอาจ. 2543. การออกแบบและพัฒนาเครื่องเก็บหัวมันสำปะหลังแบบติดพ่วงกับรถแทรกเตอร์.  วิทยานิพนธ์ปริญญาโท.  สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.</ref>
บรรทัดที่ 143: บรรทัดที่ 148:


วิจัยและพัฒนาเครื่องมือตัดหัวมันสำปะหลังออกจากเหง้า เพื่อลดการใช้แรงงาน และเพิ่มความสามารถในการตัดตัดหัวมันสำปะหลังออกจากเหง้าภายหลังการขุดหัวและเหง้ามันสำปะหลังขึ้นมาจากดิน ซึ่งเป็นปัญหาลักษณะคอขวดที่สำคัญในระบบการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง ดำเนินการโดยศึกษา เลือกใช้ และพัฒนาส่วนการตัดและส่วนการขับใบตัด ผลการศึกษาและพัฒนาได้เครื่องมือตัดแบบใบเลื่อยชักระบบนิวแมติกส์ มีความสามารถในการตัด 615 กิโลกรัม/ชั่วโมง ใกล้เคียงกับการตัดด้วยแรงงานหญิงในระบบการตัดหัวมันสำปะหลังออกจากเหง้าของระบบปฏิบัติเดิม ช่วยลดความเหนื่อยยากของแรงงาน แต่ต้นทุนสูงกว่า มีความเป็นไปได้ที่จะพัฒนาต่อเพื่อเพิ่มความสมารถในการทำงานและมีความยืดหยุ่นในการทำงานมากขึ้นต่อไป
วิจัยและพัฒนาเครื่องมือตัดหัวมันสำปะหลังออกจากเหง้า เพื่อลดการใช้แรงงาน และเพิ่มความสามารถในการตัดตัดหัวมันสำปะหลังออกจากเหง้าภายหลังการขุดหัวและเหง้ามันสำปะหลังขึ้นมาจากดิน ซึ่งเป็นปัญหาลักษณะคอขวดที่สำคัญในระบบการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง ดำเนินการโดยศึกษา เลือกใช้ และพัฒนาส่วนการตัดและส่วนการขับใบตัด ผลการศึกษาและพัฒนาได้เครื่องมือตัดแบบใบเลื่อยชักระบบนิวแมติกส์ มีความสามารถในการตัด 615 กิโลกรัม/ชั่วโมง ใกล้เคียงกับการตัดด้วยแรงงานหญิงในระบบการตัดหัวมันสำปะหลังออกจากเหง้าของระบบปฏิบัติเดิม ช่วยลดความเหนื่อยยากของแรงงาน แต่ต้นทุนสูงกว่า มีความเป็นไปได้ที่จะพัฒนาต่อเพื่อเพิ่มความสมารถในการทำงานและมีความยืดหยุ่นในการทำงานมากขึ้นต่อไป
[[ไฟล์:เครื่องเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง.png|alt=เครื่องเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง|thumb|เครื่องเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง]]




'''การพัฒนาเครื่องเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังแบบเบ็ดเสร็จของไทย'''
'''การพัฒนาเครื่องเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังแบบเบ็ดเสร็จของไทย'''


การพัฒนาเครื่องเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังในปัจจุบัน เป็นการนำเอาขั้นตอนของการขุด การลำเลียง และขนย้ายเหง้ามันสำปะหลัง ติดตั้งและทำงานพร้อมกันในเครื่องเดียวกัน เริ่มต้นด้วยระบบการขุดเป็นการนำหัวขุดหรือผาลขุดติดตั้งในโครงไถที่สร้างขึ้นและเชื่อมต่อกับรถแทรกเตอร์ในระบบการต่อพ่วงแบบ 3 จุด Three-Point Hitch ทำหน้าที่ในการขุดเปิดร่องแยกมวลดินและเหง้ามันสำปะหลังออกจากกัน ระบบลำเลียงออกแบบเป็นลักษณะโซ่ปีกทำงานร่วมกับสายพานหรือแผ่นยางป้องกันการลื่นและช่วยสร้างแรงยึดเกาะ โดยใช้โซ่ปีกจำนวน 2 ชุด ทำงานโดยการหมุนในทิศทางตรงข้ามกัน<ref>วิชา หมั่นทำการ. 2552. เครื่องเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง. ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: <nowiki>http://www.rdi.ku.ac.th</nowiki>. (30 กันยายน 2553).</ref> ด้วยชุดเฟืองขับจากปั้มไฮดรอลิกส์ต่อผ่านระบบเพลาอำนวยกำลัง PTO เรียกลักษณะการลำเลียงแบบนี้ว่าการคีบ ซึ่งจะใช้ส่วนของลำต้นเหนือพื้นดินหลังการตัดต้นเป็นตำแหน่งในการคีบ ชุดโซ่ลำเลียงนี้จะต่อร่วมกับระบบการขุด เพื่อลำเลียงเหง้าพร้อมหัวมันสำปะหลังไปยังอุปกรณ์ขนย้ายที่มีลักษณะเป็นกระบะบรรทุกแบบมีล้อ ต่อพ่วงแบบกึ่งลากจูงกับชุดโครงขุดและลำเลียง เมื่อทำการเก็บเกี่ยวจนเต็มกระบะบรรทุกจะทำการเทรวมกองกันไว้เป็นจุดๆ เพื่อใช้แรงงานคนในการสับแยกเหง้าและลำเลียงขึ้นรถบรรทุกต่อไป จึงสรุปได้ว่ายังไม่สามารถช่วยลดการใช้แรงงานในกระบวนการขนย้ายรวมกอง และสับแยกเหง้าได้อย่างสมบูรณ์ นอกจากนี้ระบบการลำเลียงที่กล่าวมานั้นมีชิ้นส่วนทางกลที่ต้องการการปรับตั้ง การหล่อลื่น การบำรุงรักษาเป็นพิเศษ ซึ่งในการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังจะมีฝุ่นละออง เศษวัสดุจำนวนมากส่งผลต่ออายุการใช้งานของระบบโซ่ลำเลียง รวมถึงความยาวของรถแทรกเตอร์ต้นกำลังรวมกับอุปกรณ์การขุด ระบบลำเลียงเหง้าและอุปกรณ์การขนย้ายเหง้ามันสำปะหลังที่มีการใช้งานแบบต่อพ่วงกึ่งลากจูง เมื่อทำการเก็บเกี่ยวจริงจะต้องใช้พื้นที่ในการเลี้ยวหัวงานมากเป็นพิเศษ ซึ่งไม่สะดวกในการทำการเก็บเกี่ยวในพื้นที่ที่หน้ากว้างของแปลงปลูกไม่สม่ำเสมอ และระบบการตัดแยกเหง้า ถือเป็นกลไกที่มีความสำคัญประการสุดท้ายของเครื่องเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังเนื่องจากเครื่องเก็บเกี่ยวที่กล่าวมาข้างต้นยังคงต้องใช้แรงงานคนในการตัดแยกเหง้า หากเครื่องเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังมีกระบวนการครบถ้วนและสามารถลดการใช้แรงงานคนได้จริง ต้องทำงานได้ครบบริบทในการขุด ลำเลียง และแยกเหง้า ไปในกระบวนการเดียวกัน แต่ในปัจจุบันมีการศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการแยกเหง้าเพียงในระดับห้องปฏิบัติการเท่านั้น<ref name=":5" />
การพัฒนาเครื่องเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังในปัจจุบัน เป็นการนำเอาขั้นตอนของการขุด การลำเลียง และขนย้ายเหง้ามันสำปะหลัง ติดตั้งและทำงานพร้อมกันในเครื่องเดียวกัน เริ่มต้นด้วยระบบการขุดเป็นการนำหัวขุดหรือผาลขุดติดตั้งในโครงไถที่สร้างขึ้นและเชื่อมต่อกับรถแทรกเตอร์ในระบบการต่อพ่วงแบบ 3 จุด Three-Point Hitch ทำหน้าที่ในการขุดเปิดร่องแยกมวลดินและเหง้ามันสำปะหลังออกจากกัน ระบบลำเลียงออกแบบเป็นลักษณะโซ่ปีกทำงานร่วมกับสายพานหรือแผ่นยางป้องกันการลื่นและช่วยสร้างแรงยึดเกาะ โดยใช้โซ่ปีกจำนวน 2 ชุด ทำงานโดยการหมุนในทิศทางตรงข้ามกัน<ref>วิชา หมั่นทำการ. 2552. เครื่องเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง. ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: <nowiki>http://www.rdi.ku.ac.th</nowiki>. (30 กันยายน 2553).</ref> ด้วยชุดเฟืองขับจากปั้มไฮดรอลิกส์ต่อผ่านระบบเพลาอำนวยกำลัง PTO เรียกลักษณะการลำเลียงแบบนี้ว่าการคีบ ซึ่งจะใช้ส่วนของลำต้นเหนือพื้นดินหลังการตัดต้นเป็นตำแหน่งในการคีบ ชุดโซ่ลำเลียงนี้จะต่อร่วมกับระบบการขุด เพื่อลำเลียงเหง้าพร้อมหัวมันสำปะหลังไปยังอุปกรณ์ขนย้ายที่มีลักษณะเป็นกระบะบรรทุกแบบมีล้อ ต่อพ่วงแบบกึ่งลากจูงกับชุดโครงขุดและลำเลียง เมื่อทำการเก็บเกี่ยวจนเต็มกระบะบรรทุกจะทำการเทรวมกองกันไว้เป็นจุดๆ เพื่อใช้แรงงานคนในการสับแยกเหง้าและลำเลียงขึ้นรถบรรทุกต่อไป จึงสรุปได้ว่ายังไม่สามารถช่วยลดการใช้แรงงานในกระบวนการขนย้ายรวมกอง และสับแยกเหง้าได้อย่างสมบูรณ์ นอกจากนี้ระบบการลำเลียงที่กล่าวมานั้นมีชิ้นส่วนทางกลที่ต้องการการปรับตั้ง การหล่อลื่น การบำรุงรักษาเป็นพิเศษ ซึ่งในการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังจะมีฝุ่นละออง เศษวัสดุจำนวนมากส่งผลต่ออายุการใช้งานของระบบโซ่ลำเลียง รวมถึงความยาวของรถแทรกเตอร์ต้นกำลังรวมกับอุปกรณ์การขุด ระบบลำเลียงเหง้าและอุปกรณ์การขนย้ายเหง้ามันสำปะหลังที่มีการใช้งานแบบต่อพ่วงกึ่งลากจูง เมื่อทำการเก็บเกี่ยวจริงจะต้องใช้พื้นที่ในการเลี้ยวหัวงานมากเป็นพิเศษ ซึ่งไม่สะดวกในการทำการเก็บเกี่ยวในพื้นที่ที่หน้ากว้างของแปลงปลูกไม่สม่ำเสมอ และระบบการตัดแยกเหง้า ถือเป็นกลไกที่มีความสำคัญประการสุดท้ายของเครื่องเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังเนื่องจากเครื่องเก็บเกี่ยวที่กล่าวมาข้างต้นยังคงต้องใช้แรงงานคนในการตัดแยกเหง้า หากเครื่องเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังมีกระบวนการครบถ้วนและสามารถลดการใช้แรงงานคนได้จริง ต้องทำงานได้ครบบริบทในการขุด ลำเลียง และแยกเหง้า ไปในกระบวนการเดียวกัน แต่ในปัจจุบันมีการศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการแยกเหง้าเพียงในระดับห้องปฏิบัติการเท่านั้น<ref name=":5" />




'''เครื่องลำเลียงมันสำปะหลังขึ้นรถบรรทุก'''
[[ไฟล์:เครื่องลำเลียงมันสำปะหลังขึ้นรถบรรทุก.png|alt=เครื่องลำเลียงมันสำปะหลังขึ้นรถบรรทุก|thumb|เครื่องลำเลียงมันสำปะหลังขึ้นรถบรรทุก]]
'''เครื่องลำเลียงมันสำปะหลังขึ้นรถบรรทุก'''  


เครื่องลำเลียงหัวมันสำปะหลังขึ้นรถบรรทุก เป็นเครื่องมือที่ใช้เพื่อลดการใช้แรงงานคน เนื่องจากกระบวนการดังกล่าวนั้นจะต้องใช้แรงงานพิเศษคือต้องเป็นแรงงานที่มีร่างกายแข็งแรงมาก ดังนั้นจึงทำให้ค่าจ้างแรงงานในส่วนนี้สูงกว่ากระบวนการรวบรวม หรือกระบวนการสับเหง้า ดังนั้นการใช้เครื่องมือดังกล่าว นอกจากจะช่วยในเรื่องการลดค่าใช้จ่ายหรือการใช้แรงงานแล้วยังทำให้สามารถป้องกันการเกิดอุบัติเหตุจากการทำงานเรื่องการยกสิ่งของหนักได้อีกด้วย<ref>ชัยยันต์ จันทร์ศิริ และเสรี วงส์พิเชษฐ. 2556. การศึกษาและพัฒนาอุปกรณ์ลำเลียงมันสำปะหลังขึ้นรถบรรทุก. วารสารวิจัย มข. 18(2): 212-220.</ref>
เครื่องลำเลียงหัวมันสำปะหลังขึ้นรถบรรทุก เป็นเครื่องมือที่ใช้เพื่อลดการใช้แรงงานคน เนื่องจากกระบวนการดังกล่าวนั้นจะต้องใช้แรงงานพิเศษคือต้องเป็นแรงงานที่มีร่างกายแข็งแรงมาก ดังนั้นจึงทำให้ค่าจ้างแรงงานในส่วนนี้สูงกว่ากระบวนการรวบรวม หรือกระบวนการสับเหง้า ดังนั้นการใช้เครื่องมือดังกล่าว นอกจากจะช่วยในเรื่องการลดค่าใช้จ่ายหรือการใช้แรงงานแล้วยังทำให้สามารถป้องกันการเกิดอุบัติเหตุจากการทำงานเรื่องการยกสิ่งของหนักได้อีกด้วย<ref>ชัยยันต์ จันทร์ศิริ และเสรี วงส์พิเชษฐ. 2556. การศึกษาและพัฒนาอุปกรณ์ลำเลียงมันสำปะหลังขึ้นรถบรรทุก. วารสารวิจัย มข. 18(2): 212-220.</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
132

การแก้ไข