ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การจำแนกและการจัดการวัชพืช"

ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
วัชพืช (Weeds) เป็นอีกหนึ่งปัญหาที่สำคัญต่อพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง เนื่องจากมันสำปะหลังมีอายุการปลูกถึงเก็บเกี่ยวประมาณ 8-12 เดือน ดังนั้นระหว่างการเจริญเติบโตจนให้ผลผลิตที่ใช้ระยะเวลานานทำให้วัชพืชมีบทบาทสำคัญต่อการแก่งแย่งปัจจัยการเจริญเติบโต เช่น ธาตุอาหาร น้ำ แสงแดด และอากาศ เป็นต้น ของมันสำปะหลัง ส่งผลให้มันสำปะหลังมีผลผลิตที่ลดลง
วัชพืช (Weeds) เป็นอีกหนึ่งปัญหาที่สำคัญต่อพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง เนื่องจากมันสำปะหลังมีอายุการปลูกถึงเก็บเกี่ยวประมาณ 8-12 เดือน ดังนั้นระหว่างการเจริญเติบโตจนให้ผลผลิตที่ใช้ระยะเวลานานทำให้วัชพืชมีบทบาทสำคัญต่อการแก่งแย่งปัจจัยการเจริญเติบโต เช่น ธาตุอาหาร น้ำ แสงแดด และอากาศ เป็นต้น ของมันสำปะหลัง ส่งผลให้มันสำปะหลังมีผลผลิตที่ลดลง<ref>พรชัย เหลืองอาภาพงศ์ 2523 การป้องกันกำจัดวัชพืช ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 164 หน้า </ref>


== '''การจำแนกชนิดของวัชพืช (Weed classification)''' ==
== '''การจำแนกชนิดของวัชพืช (Weed classification)''' ==
วัชพืชมีจำนวนหลากหลายชนิดมากจึงสามารถจำแนกออกได้เป็นประเภทต่าง ๆ ได้หลายประเภท เช่น จำแนกตามลักษณะทางพฤกษศาสตร์ (botany) จำแนกสัณฐานวิทยา (morphology) ชีพจำแนกพจักร (life cycle) หรือจำแนกถิ่นที่อยู่อาศัย (habitat) แต่การจำแนกวัชพืชโดยสัณฐานวิทยา (morphology) ที่พบในแปลงปลูกมันสำปะหลังจะช่วยให้สามารถเลือกใช้วิธีการจัดการวัชพืชได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะในกรณีของการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดวัชพืช
วัชพืชมีจำนวนหลากหลายชนิดมากจึงสามารถจำแนกออกได้เป็นประเภทต่าง ๆ ได้หลายประเภท เช่น จำแนกตามลักษณะทางพฤกษศาสตร์ (botany) จำแนกสัณฐานวิทยา (morphology) ชีพจำแนกพจักร (life cycle) หรือจำแนกถิ่นที่อยู่อาศัย (habitat) แต่การจำแนกวัชพืชโดยสัณฐานวิทยา (morphology) ที่พบในแปลงปลูกมันสำปะหลังจะช่วยให้สามารถเลือกใช้วิธีการจัดการวัชพืชได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะในกรณีของการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดวัชพืช<ref>สุชาดา ศรีเพ็ญ. 2525. การจำแนกวัชพืช. วิทยาการวัชพืช เอกสารวิชาการของสมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย เล่ม 1 หน้า 11-13 </ref>


== '''การจำแนกชนิดของวัชพืชที่พบในแปลงปลูกมันสำปะหลัง''' ==
== '''การจำแนกชนิดของวัชพืชที่พบในแปลงปลูกมันสำปะหลัง''' ==
บรรทัดที่ 165: บรรทัดที่ 165:


== '''การจัดการวัชพืชในแปลงปลูกมันสำปะหลัง''' ==
== '''การจัดการวัชพืชในแปลงปลูกมันสำปะหลัง''' ==
การจัดการวัชพืช (weed management) เป็นการบูรณาการระหว่างการป้องกัน การควบคุมและการกำจัดมาใช้ร่วมกัน แต่จะใช้วิธีการมากกว่าหรือน้อยกว่ากันใดนั้นขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของปัญหา แต่โดยทั่วไปการจัดการจะเน้นไปที่การแก้ปัญหามากกว่าการป้องกัน ที่เรียกโดยทั่วไปว่า การควบคุมกำจัด ซึ่งการควบคุมกำจัดวัชพืชสามารถทำได้หลายวิธีโดยต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมและสามารถแบ่งออกได้
การจัดการวัชพืช (weed management) เป็นการบูรณาการระหว่างการป้องกัน การควบคุมและการกำจัดมาใช้ร่วมกัน แต่จะใช้วิธีการมากกว่าหรือน้อยกว่ากันใดนั้นขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของปัญหา แต่โดยทั่วไปการจัดการจะเน้นไปที่การแก้ปัญหามากกว่าการป้องกัน ที่เรียกโดยทั่วไปว่า การควบคุมกำจัด ซึ่งการควบคุมกำจัดวัชพืชสามารถทำได้หลายวิธีโดยต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมและสามารถแบ่งออกได้<ref>พรชัย เหลืองอาภาพงศ์ 2523 การป้องกันกำจัดวัชพืช ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 164 หน้า </ref>


* การป้องกันกำจัดโดยวิธีกล เป็นวิธีกำจัดวัชพืชโดยการใช้แรงงานคนถากหญ้า หรือใช้เครื่องจักรกลขนาดเล็กเข้ากำจัดวัชพืชในร่องขณะที่ต้นมันสำปะหลังยังเล็ก หรือช่วงมันสำปะหลังมีอายุ 4 เดือนแรกหลังปลูก  
* การป้องกันกำจัดโดยวิธีกล เป็นวิธีกำจัดวัชพืชโดยการใช้แรงงานคนถากหญ้า หรือใช้เครื่องจักรกลขนาดเล็กเข้ากำจัดวัชพืชในร่องขณะที่ต้นมันสำปะหลังยังเล็ก หรือช่วงมันสำปะหลังมีอายุ 4 เดือนแรกหลังปลูก  
บรรทัดที่ 175: บรรทัดที่ 175:
# ประเภทไม่เลือกทำลาย (nonselective herbicides) หมายถึง สารเคมีที่มีฤทธิ์ในการควบคุมกำจัดพืชหรือวัชพืชทุกชนิด หากฉีดพ่นในการปลูกมันสำปะหลังต้องระมัดระวังอันตรายที่จะส่งผลต่อความเสียหายได้
# ประเภทไม่เลือกทำลาย (nonselective herbicides) หมายถึง สารเคมีที่มีฤทธิ์ในการควบคุมกำจัดพืชหรือวัชพืชทุกชนิด หากฉีดพ่นในการปลูกมันสำปะหลังต้องระมัดระวังอันตรายที่จะส่งผลต่อความเสียหายได้


=== แบ่งตามลักษณะการใช้กับพืช ===
=== แบ่งตามลักษณะการใช้กับพืช<ref>อัมพร สุวรรณเมฆ มปป. สิ่งที่ต้องพิจารณาบางประการในการใช้สารเคมีกำจัดวัชพืช เอกสารโรเนียว ภาควิชาพืชไร่นา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 7 หน้า </ref> ===


# ประเภทใช้ทางใบ (foliar application) หมายถึง สารกำจัดวัชพืชที่เข้าสู่พืชทางใบหรือยอดอ่อน ซึ่งสามารถแบ่งย่อยได้อีก คือ 1) ประเภทสัมผัสตาย (contact herbicides) คือ สารกำจัดวัชพืชที่มีความสามารถทำลายพืชได้เฉพาะส่วนที่สารไปสัมผัสเท่านั้นโดยไม่มีการเคลื่อนย้ายของสารไปสู่ส่วนอื่น ๆ ของพืช 2) ประเภทดูดซึม (systemic หรือ translocated herbicides) คือ สารกำจัดวัชพืชที่เมื่อเข้าสู่พืชแล้วสามารถเคลื่อนย้ายไปสู่ส่วนอื่นของพืชได้ โดยจะเคลื่อนย้ายไปตามท่ออาหาร (phloem) เป็นส่วนใหญ่ และจะแสดงผลในการทำลายในจุดต่าง ๆ ที่สารประเภทนี้เคลื่อนย้ายไปถึง
# ประเภทใช้ทางใบ (foliar application) หมายถึง สารกำจัดวัชพืชที่เข้าสู่พืชทางใบหรือยอดอ่อน ซึ่งสามารถแบ่งย่อยได้อีก คือ  
1) ประเภทสัมผัสตาย (contact herbicides) คือ สารกำจัดวัชพืชที่มีความสามารถทำลายพืชได้เฉพาะส่วนที่สารไปสัมผัสเท่านั้นโดยไม่มีการเคลื่อนย้ายของสารไปสู่ส่วนอื่น ๆ ของพืช 2) ประเภทดูดซึม (systemic หรือ translocated herbicides) คือ สารกำจัดวัชพืชที่เมื่อเข้าสู่พืชแล้วสามารถเคลื่อนย้ายไปสู่ส่วนอื่นของพืชได้ โดยจะเคลื่อนย้ายไปตามท่ออาหาร (phloem) เป็นส่วนใหญ่ และจะแสดงผลในการทำลายในจุดต่าง ๆ ที่สารประเภทนี้เคลื่อนย้ายไปถึง
# ประเภทใช้ทางดิน (soil application) หมายถึง สารกำจัดวัชพืชที่เข้าสู่พืชทางรากหรือส่วนอื่นๆ ของพืชที่อยู่ใต้ดิน ซึ่งรวมถึงใบเลี้ยงหรือยอดอ่อนก่อนจะโผล่พ้นพื้นผิวดิน มีผลทำให้ส่วนขยายพันธุ์ของพืช ซึ่งเริ่มจะงอกหรือกำลังงอกได้รับอันตราย สารกำจัดวัชพืชประเภทใช้ทางดินมักจะมีผลตกค้างในดิน (residue) สารบางชนิดอยู่ในดินได้นานเป็นปี ขึ้นกับชนิดและความเข้มข้นของสาร และสภาพแวดล้อม เช่น ความชื้นและชนิดของดิน
# ประเภทใช้ทางดิน (soil application) หมายถึง สารกำจัดวัชพืชที่เข้าสู่พืชทางรากหรือส่วนอื่นๆ ของพืชที่อยู่ใต้ดิน ซึ่งรวมถึงใบเลี้ยงหรือยอดอ่อนก่อนจะโผล่พ้นพื้นผิวดิน มีผลทำให้ส่วนขยายพันธุ์ของพืช ซึ่งเริ่มจะงอกหรือกำลังงอกได้รับอันตราย สารกำจัดวัชพืชประเภทใช้ทางดินมักจะมีผลตกค้างในดิน (residue) สารบางชนิดอยู่ในดินได้นานเป็นปี ขึ้นกับชนิดและความเข้มข้นของสาร และสภาพแวดล้อม เช่น ความชื้นและชนิดของดิน
100

การแก้ไข