ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลวก"
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
ชื่อวิทยาศาสตร์ ''Odontotermes takensis'' (Ahmad) มีลักษณะคล้ายมดแต่มีลำตัวสีขาว มีการสร้างทางเดินที่มีดินหุ้มเพื่อรักษาความชื้น ซึ่งจะเห็นดินเป็นทางยาวตามลำต้นหรือเป็นแผ่นหุ้มทั้งลำต้น ปลวกอยู่รวมกันเป็นสังคม รังของปลวกอาจเป็นจอมปลวกเหนือดินหรือ อยู่ใต้ดิน ในฤดูแล้งมักพบปัญหาปลวกกัดกินต้นและหัวมันสำปะหลัง การทำลายของปลวกสังเกตได้จากดินที่พอกอยู่บริเวณโคนต้นมันสำปะหลัง (อุดมศักดิ์, 2555)<ref name=":0" /> | ชื่อวิทยาศาสตร์ ''Odontotermes takensis'' (Ahmad) มีลักษณะคล้ายมดแต่มีลำตัวสีขาว มีการสร้างทางเดินที่มีดินหุ้มเพื่อรักษาความชื้น ซึ่งจะเห็นดินเป็นทางยาวตามลำต้นหรือเป็นแผ่นหุ้มทั้งลำต้น ปลวกอยู่รวมกันเป็นสังคม รังของปลวกอาจเป็นจอมปลวกเหนือดินหรือ อยู่ใต้ดิน ในฤดูแล้งมักพบปัญหาปลวกกัดกินต้นและหัวมันสำปะหลัง การทำลายของปลวกสังเกตได้จากดินที่พอกอยู่บริเวณโคนต้นมันสำปะหลัง (อุดมศักดิ์, 2555)<ref name=":0" /> | ||
[[ไฟล์:Image12.png|thumb|ลักษณะของปลวก]] | |||
[[ไฟล์:Image13.png|thumb|ลักษณะของปลวก]] | |||
== <ref name=":0">อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช. 2555. โรคและแมลงศัตรูของมันสำปะหลัง. สุพรีมพริ้นท์ จำกัด, กรุงเทพฯ.</ref>'''การป้องกันกำจัด''' == | == <ref name=":0">อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช. 2555. โรคและแมลงศัตรูของมันสำปะหลัง. สุพรีมพริ้นท์ จำกัด, กรุงเทพฯ.</ref>'''การป้องกันกำจัด''' == | ||
ทำการป้องกันก่อนการปลูกด้วยสารเคมี อิมิดาคลอพริด อัตรา 10 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร แช่ท่อนพันธุ์ หากมีการระบาดในช่วงหลังปลูก ให้พ้นที่โคนต้นด้วยสาร ฟีโพรนิล อัตราส่วน 80 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร (อุดมศักดิ์, 2555)<ref name=":0" /> | ทำการป้องกันก่อนการปลูกด้วยสารเคมี อิมิดาคลอพริด อัตรา 10 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร แช่ท่อนพันธุ์ หากมีการระบาดในช่วงหลังปลูก ให้พ้นที่โคนต้นด้วยสาร ฟีโพรนิล อัตราส่วน 80 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร (อุดมศักดิ์, 2555)<ref name=":0" /> |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 06:22, 25 สิงหาคม 2564
ชื่อวิทยาศาสตร์ Odontotermes takensis (Ahmad) มีลักษณะคล้ายมดแต่มีลำตัวสีขาว มีการสร้างทางเดินที่มีดินหุ้มเพื่อรักษาความชื้น ซึ่งจะเห็นดินเป็นทางยาวตามลำต้นหรือเป็นแผ่นหุ้มทั้งลำต้น ปลวกอยู่รวมกันเป็นสังคม รังของปลวกอาจเป็นจอมปลวกเหนือดินหรือ อยู่ใต้ดิน ในฤดูแล้งมักพบปัญหาปลวกกัดกินต้นและหัวมันสำปะหลัง การทำลายของปลวกสังเกตได้จากดินที่พอกอยู่บริเวณโคนต้นมันสำปะหลัง (อุดมศักดิ์, 2555)[1]
[1]การป้องกันกำจัด[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
ทำการป้องกันก่อนการปลูกด้วยสารเคมี อิมิดาคลอพริด อัตรา 10 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร แช่ท่อนพันธุ์ หากมีการระบาดในช่วงหลังปลูก ให้พ้นที่โคนต้นด้วยสาร ฟีโพรนิล อัตราส่วน 80 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร (อุดมศักดิ์, 2555)[1]