ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เพลี้ยหอย"
บรรทัดที่ 6: | บรรทัดที่ 6: | ||
== '''เพลี้ยหอยขาว''' == | == '''เพลี้ยหอยขาว''' == | ||
ชื่อวิทยาศาสตร์ ''Aonidomytilus albus'' (Cockerell) ตัวเต็มวัยเพศเมียมีแผ่นคล้ายเปลือกหอยแมลงภู่สีขาวคลุมลำตัว แผ่นลำตัวยาวประมาณ 1.7-2.5 มิลลิเมตร กว่างประมาณ 0.9-1.2 มิลลิเมตร เมื่อเปิดแผ่นปกคลุมลำตัวขึ้นจะพบตัวเพลี้ยหอยเกล็ดซึ่งมีขนาดเล็ก ลำตัวมีสีเหลืองอ่อนจนถึงสีเหลืองเข้ม ดูดกินน้ำเลี้ยงที่ลำต้น ก้านใบ และหลังใบมันสำปะหลัง มีพืชอาหารกว่า 21 ชนิด วงจรชีวิตเวลาประมาณ 24-29 วัน ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศ (อุดมศักดิ์, 2555)<ref name=":0" /> | ชื่อวิทยาศาสตร์ ''Aonidomytilus albus'' (Cockerell) ตัวเต็มวัยเพศเมียมีแผ่นคล้ายเปลือกหอยแมลงภู่สีขาวคลุมลำตัว แผ่นลำตัวยาวประมาณ 1.7-2.5 มิลลิเมตร กว่างประมาณ 0.9-1.2 มิลลิเมตร เมื่อเปิดแผ่นปกคลุมลำตัวขึ้นจะพบตัวเพลี้ยหอยเกล็ดซึ่งมีขนาดเล็ก ลำตัวมีสีเหลืองอ่อนจนถึงสีเหลืองเข้ม ดูดกินน้ำเลี้ยงที่ลำต้น ก้านใบ และหลังใบมันสำปะหลัง มีพืชอาหารกว่า 21 ชนิด วงจรชีวิตเวลาประมาณ 24-29 วัน ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศ (อุดมศักดิ์, 2555)<ref name=":0" /> | ||
[[ไฟล์:Image09.png|thumb|ลักษณะของเพลี้ยหอยเข้าทำลายบริเวณลำต้นของมันสำปะหลัง]] | |||
== '''การป้องกันกำจัด''' == | == '''การป้องกันกำจัด''' == | ||
ทำการแช่ท่อนพันธุ์ก่อนปลูกด้วยสาร เช่น ไทอะมีโธแซม 4 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ อิมิดาคลอพริด 4 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ซึ่งเป็นสารที่แนะนำมาใช้ในการกำจัดเพลี้ยแป้งได้ เมื่อพบการแพร่ระบาดในแปลงควรใช้สารเคมีที่ได้มีการแนะนำข้างต้นผสมกับ ไวท์ออย (white oil) อัตรา 50 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร โดยผสมในน้ำปริมาณน้อย คนให้สารละลายเข้ากันได้ดีก่อนเติมน้ำจนได้ปริมาตรตามต้องการ (อุดมศักดิ์, 2555)<ref name=":0" /> | ทำการแช่ท่อนพันธุ์ก่อนปลูกด้วยสาร เช่น ไทอะมีโธแซม 4 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ อิมิดาคลอพริด 4 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ซึ่งเป็นสารที่แนะนำมาใช้ในการกำจัดเพลี้ยแป้งได้ เมื่อพบการแพร่ระบาดในแปลงควรใช้สารเคมีที่ได้มีการแนะนำข้างต้นผสมกับ ไวท์ออย (white oil) อัตรา 50 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร โดยผสมในน้ำปริมาณน้อย คนให้สารละลายเข้ากันได้ดีก่อนเติมน้ำจนได้ปริมาตรตามต้องการ (อุดมศักดิ์, 2555)<ref name=":0" /> |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 06:20, 25 สิงหาคม 2564
พบมีการแพร่ระบาดในแหลงปลูกมันสำปะหลังรุนแรงทางภาคตะวันออก เช่น ระยอง ปราจีนบุรี สระแก้ว ในช่วงฤดูปลูกปี 2557-2558 โดยมีการแพร่กระจายไปกับท่อนพันธุ์
เพลี้ยหอยเกล็ด[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
มีชื่อวิทยาศาสตร์ Parasaissetia nigra (Nietner) ลักษณะเด่นตัวเต็มวัยเพศเมีย มีลำตัวรูปวงรี ยาว 5.0-5.5 มิลลิเมตร กว้าง 3.8-4.0 มิลลิเมตร ระยะตัวอ่อน ผนังลำตัวมีสีเหลืองหรือน้ำตาลอ่อน ผนังลำตัวมีสีดำถึงน้ำตาลเข้ม และในช่วงวางไข่ลำตัวมีลักษณะนูนขึ้นสามารถมองเห็นได้ชัดเจน ทำความเสียหายกับมันสำปะหลังด้วยการดูดกินน้ำเลี้ยงบริเวณลำต้น หรือใบของมันสำปะหลัง มีพืชอาหารหลากหลายกว่า 400 ชนิดวงจรชีวิตเวลาประมาณ 45-60 วัน (อุดมศักดิ์, 2555)[1]
เพลี้ยหอยขาว[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
ชื่อวิทยาศาสตร์ Aonidomytilus albus (Cockerell) ตัวเต็มวัยเพศเมียมีแผ่นคล้ายเปลือกหอยแมลงภู่สีขาวคลุมลำตัว แผ่นลำตัวยาวประมาณ 1.7-2.5 มิลลิเมตร กว่างประมาณ 0.9-1.2 มิลลิเมตร เมื่อเปิดแผ่นปกคลุมลำตัวขึ้นจะพบตัวเพลี้ยหอยเกล็ดซึ่งมีขนาดเล็ก ลำตัวมีสีเหลืองอ่อนจนถึงสีเหลืองเข้ม ดูดกินน้ำเลี้ยงที่ลำต้น ก้านใบ และหลังใบมันสำปะหลัง มีพืชอาหารกว่า 21 ชนิด วงจรชีวิตเวลาประมาณ 24-29 วัน ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศ (อุดมศักดิ์, 2555)[1]
การป้องกันกำจัด[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
ทำการแช่ท่อนพันธุ์ก่อนปลูกด้วยสาร เช่น ไทอะมีโธแซม 4 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ อิมิดาคลอพริด 4 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ซึ่งเป็นสารที่แนะนำมาใช้ในการกำจัดเพลี้ยแป้งได้ เมื่อพบการแพร่ระบาดในแปลงควรใช้สารเคมีที่ได้มีการแนะนำข้างต้นผสมกับ ไวท์ออย (white oil) อัตรา 50 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร โดยผสมในน้ำปริมาณน้อย คนให้สารละลายเข้ากันได้ดีก่อนเติมน้ำจนได้ปริมาตรตามต้องการ (อุดมศักดิ์, 2555)[1]