ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สารเคมีป้องกันกำจัดแมลง"

จาก Cassava
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
(สร้างหน้าด้วย "== การแบ่งกลุ่มของสารฆ่าแมลงตามช่องทางการเข้าทำลาย == ส...")
 
 
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 6: บรรทัดที่ 6:
## ทางราก (Passing the root) กลุ่มสาร Neonicotinoids นีโอนิโคตินอยด์ มีประสิทธิภาพในการกำจัดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลได้ด้วย เป็นสารฆ่าแมลงกลุ่มหนึ่งซึ่งมีการเข้าทำลายแมลงที่ระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้แมลงเป็นอัมพาตและตายภายใน 2-3 ชั่วโมง คล้ายกับสารนิโคตินซึ่งได้จากธรรมชาติ มีผลน้อยต่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม แต่มีพิษต่อผึ้งสูง สารไทอะมีโธแซมมีสูตรโครงสร้างแตกต่างจากสารนีโอนิโคตินอยด์อื่นๆเล็กน้อย โดยมีการละลายน้ำสูง และสามารถดูดซึมในลำต้นพืชได้ทันที
## ทางราก (Passing the root) กลุ่มสาร Neonicotinoids นีโอนิโคตินอยด์ มีประสิทธิภาพในการกำจัดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลได้ด้วย เป็นสารฆ่าแมลงกลุ่มหนึ่งซึ่งมีการเข้าทำลายแมลงที่ระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้แมลงเป็นอัมพาตและตายภายใน 2-3 ชั่วโมง คล้ายกับสารนิโคตินซึ่งได้จากธรรมชาติ มีผลน้อยต่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม แต่มีพิษต่อผึ้งสูง สารไทอะมีโธแซมมีสูตรโครงสร้างแตกต่างจากสารนีโอนิโคตินอยด์อื่นๆเล็กน้อย โดยมีการละลายน้ำสูง และสามารถดูดซึมในลำต้นพืชได้ทันที
## ทางใบ (Passing the leaf) ได้แก่สารส่วนใหญ่ในกลุ่มออร์แกนโนฟอสเฟต (Organophosphate) คาร์บาเมท (Carbamate) เช่น ไดเมโทเอต dimethoate, พิริมิคาร์บ pirimicarb และ ออกซามิล oxamyl เป็นต้น สารบางชนิดออกฤทธิ์แบบแทรกซึม ส่วนใหญ่มีการเคลื่นที่เป็นระยะทางสั้นๆ จากจุดที่พ่น เช่นเคลื่อนที่แทรกซึมผ่านผิวใบจากด้านหนึ่งไปอีกด้านหนึ่ง เช่น อะบาเม็กติน abamectin, ไพรีพรอกซีนเฟน pyriproxyfen เป็นต้น
## ทางใบ (Passing the leaf) ได้แก่สารส่วนใหญ่ในกลุ่มออร์แกนโนฟอสเฟต (Organophosphate) คาร์บาเมท (Carbamate) เช่น ไดเมโทเอต dimethoate, พิริมิคาร์บ pirimicarb และ ออกซามิล oxamyl เป็นต้น สารบางชนิดออกฤทธิ์แบบแทรกซึม ส่วนใหญ่มีการเคลื่นที่เป็นระยะทางสั้นๆ จากจุดที่พ่น เช่นเคลื่อนที่แทรกซึมผ่านผิวใบจากด้านหนึ่งไปอีกด้านหนึ่ง เช่น อะบาเม็กติน abamectin, ไพรีพรอกซีนเฟน pyriproxyfen เป็นต้น
## สารประเภทสารรม (Fumigant) สารเคมีกลุ่มนี้มีคุณสมบัติในการระเหยเป็นไอได้ดี โดยทั่วไปไม่สามารถนำมาฉีดพ่นได้ มักใช้ในโรงเก็บที่มีผ้าใบ หรือพลาสติกคลุมมิดชิด เช่น เมทิลโบร์ไมด์ Methyl bromide, อลูมิเนียมฟอสไฟด์ Aluminium phosphide และ แมกนีเซียมฟอสไฟล์ Magnesium phosphide (พิสุทธิ์, 2563)
## สารประเภทสารรม (Fumigant) สารเคมีกลุ่มนี้มีคุณสมบัติในการระเหยเป็นไอได้ดี โดยทั่วไปไม่สามารถนำมาฉีดพ่นได้ มักใช้ในโรงเก็บที่มีผ้าใบ หรือพลาสติกคลุมมิดชิด เช่น เมทิลโบร์ไมด์ Methyl bromide, อลูมิเนียมฟอสไฟด์ Aluminium phosphide และ แมกนีเซียมฟอสไฟล์ Magnesium phosphide (พิสุทธิ์, 2563)<ref>พิสุทธ์ เอกอำนวย.  2563. โรคและแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 7. สายธุรกิจโรงพิมพ์, กรุงเทพฯ, 1005 หน้า.</ref>
 
== อ้างอิง ==
 
*

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 16:05, 24 สิงหาคม 2564

การแบ่งกลุ่มของสารฆ่าแมลงตามช่องทางการเข้าทำลาย[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

สารฆ่าแมลงในที่นี้จะรวมทั้งสารกำจัดไรศัตรูพืชด้วย เนื่องจากมีสารฆ่าแมลงบางชนิดสามารถใช้กำจัดไรศัตรูพืชได้ด้วย เนื่องจากไรจัดอยู่ในกลุ่มแมล สัตว์มี 8 ขา ดังนั้นก่อนการเลือกซื้อควรอ่านฉลากให้ดีว่าสามารถใช้กับชนิดของศัตรูพืชใดได้บ้าง แบ่งตามลักษณะการเข้าทำลายดังนี้

  1. ออกฤทธิ์แบบสัมผัส (Contact poisions) สารในกลุ่มนี้จำเป็นต้องพ่นให้ถูกตัวแมลงให้มากที่สุดจึงจะได้ผล ในขณะเดียวกันสารยังมีฤทธิ์ตกค้างยังอยู่บนใบพืชเมื่อแมลงสัมผัสภายหลังยังอาจทำให้แมลงตายได้ ในแมลงบางชนิดที่หลบซ่อนตัวอยู่ในใบม้วนเมื่อได้กลิ่นเหม็นอาจคลานออกมาจากที่หลบซ่อน ทำให้สัมผัสกับสารเคมีและตายได้เช่นกัน ซึ่งแบ่งออกได้ 3 แบบคือ ถูกตัวตายโดยตรง ถูกตัวตายโดยสารพิษตกค้าง และ ประเภทกินตาย
  2. ออกฤทธิ์แบบดูดซึม (Systemic) สารเคมีกลุ่มนี้มีคุณสมบัติดูดซึมเข้าไปในต้นพืชโดยอาจเข้าไปทางราก ทางใบ กิ่ง ลำต้น หรือจากส่วนใดส่วนหนึ่งของพืชที่สัมผัสกับสาร แล้วเคลื่อนย้ายไปสู่ส่วนต่างๆโดยเฉพาะยอดอ่อนที่แตกใหม่ๆ สารดูดซึมมักมีเป้าหมายในการป้องกันกำจัดแมลงพวกปากดูด เช่นแมลงหวี่ขาว เป็นต้น แบ่งออกได้ตามการเข้าทำลายดังนี้
    1. ทางราก (Passing the root) กลุ่มสาร Neonicotinoids นีโอนิโคตินอยด์ มีประสิทธิภาพในการกำจัดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลได้ด้วย เป็นสารฆ่าแมลงกลุ่มหนึ่งซึ่งมีการเข้าทำลายแมลงที่ระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้แมลงเป็นอัมพาตและตายภายใน 2-3 ชั่วโมง คล้ายกับสารนิโคตินซึ่งได้จากธรรมชาติ มีผลน้อยต่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม แต่มีพิษต่อผึ้งสูง สารไทอะมีโธแซมมีสูตรโครงสร้างแตกต่างจากสารนีโอนิโคตินอยด์อื่นๆเล็กน้อย โดยมีการละลายน้ำสูง และสามารถดูดซึมในลำต้นพืชได้ทันที
    2. ทางใบ (Passing the leaf) ได้แก่สารส่วนใหญ่ในกลุ่มออร์แกนโนฟอสเฟต (Organophosphate) คาร์บาเมท (Carbamate) เช่น ไดเมโทเอต dimethoate, พิริมิคาร์บ pirimicarb และ ออกซามิล oxamyl เป็นต้น สารบางชนิดออกฤทธิ์แบบแทรกซึม ส่วนใหญ่มีการเคลื่นที่เป็นระยะทางสั้นๆ จากจุดที่พ่น เช่นเคลื่อนที่แทรกซึมผ่านผิวใบจากด้านหนึ่งไปอีกด้านหนึ่ง เช่น อะบาเม็กติน abamectin, ไพรีพรอกซีนเฟน pyriproxyfen เป็นต้น
    3. สารประเภทสารรม (Fumigant) สารเคมีกลุ่มนี้มีคุณสมบัติในการระเหยเป็นไอได้ดี โดยทั่วไปไม่สามารถนำมาฉีดพ่นได้ มักใช้ในโรงเก็บที่มีผ้าใบ หรือพลาสติกคลุมมิดชิด เช่น เมทิลโบร์ไมด์ Methyl bromide, อลูมิเนียมฟอสไฟด์ Aluminium phosphide และ แมกนีเซียมฟอสไฟล์ Magnesium phosphide (พิสุทธิ์, 2563)[1]

อ้างอิง[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

  1. พิสุทธ์ เอกอำนวย.  2563. โรคและแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 7. สายธุรกิจโรงพิมพ์, กรุงเทพฯ, 1005 หน้า.