80
การแก้ไข
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
โรคนี้อาจเรียกว่าโรค BLS เกิดจากเชื้อรา ''Cercosporidium henningsii'' หรือ ''Cercospora henningsii'' เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อราที่ทำความเสียหายให้แก่มันสำปะหลังที่สำคัญโรคหนึ่ง ทั้งทางตรงและทางอ้อม ทำให้มันสำปะหลังที่เป็นโรคมีจุดสีเหลืองกระจายอยู่ทั่วทั้งใบ เป็นการลดพื้นที่ใบในการสังเคราะห์แสง (เจริญศักดิ์, 2532) ส่วนทางอ้อมพบว่าโรคใบจุดสีน้ำตาลทำให้ใบมันสำปะหลังร่วงหลังจากปลูก และร่วงมากขึ้นเมื่อปลูกไปแล้ว 5 เดือน (เจริญศักดิ์, 2529) โรคนี้ทำให้ใบของมันสำปะหลังร่วงก่อนกำหนดเป็นผลให้วัชพืชขึ้นแก่งแย่งแข่งขันได้ดี ทำให้มันสำปะหลังสร้างหัวใต้ดินน้อย และผลผลิตลดลงในที่สุด โรคใบจุดสีน้ำตาลแสดงอาการผิดปกติเฉพาะส่วนใบเท่านั้น พบอาการใบจุดในตำแหน่งของใบที่อยู่ด้านล่างมากกว่าใบที่อยู่ด้านบน โดยแสดงอาการผิดปกติใน 2 ระยะ คือ ระยะแรกด้านใบมีลักษณะเป็นจุดสีน้ำตาลค่อนข้างเหลี่ยมตามเส้นใบ มีขอบชัดเจน และเมื่อสังเกตด้านหลังใบพบจุดแผลมีสีเทา เนื่องจากเส้นใยของเชื้อขึ้นปกคลุมส่วนใน ระยะที่สองปรากฏขอบแผลสีเหลืองรอบจุดสีน้ำตาลและ ถ้ารุนแรงขึ้นตรงกลางแผลมีอาการแห้งและหลุดออกเป็นรูกลวง (ศานิต, 2557) | โรคนี้อาจเรียกว่าโรค BLS เกิดจากเชื้อรา ''Cercosporidium henningsii'' หรือ ''Cercospora henningsii'' เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อราที่ทำความเสียหายให้แก่มันสำปะหลังที่สำคัญโรคหนึ่ง ทั้งทางตรงและทางอ้อม ทำให้มันสำปะหลังที่เป็นโรคมีจุดสีเหลืองกระจายอยู่ทั่วทั้งใบ เป็นการลดพื้นที่ใบในการสังเคราะห์แสง (เจริญศักดิ์, 2532<ref>เจริญศักดิ์ โรจนฤทธิ์พิเชษฐ์. 2532. มันสำปะหลัง การปลูก อุตสาหกรรมแปรรูป และการใช้ประโยชน์. ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.</ref>) ส่วนทางอ้อมพบว่าโรคใบจุดสีน้ำตาลทำให้ใบมันสำปะหลังร่วงหลังจากปลูก และร่วงมากขึ้นเมื่อปลูกไปแล้ว 5 เดือน (เจริญศักดิ์, 2529<ref>เจริญศักดิ์ โรจนฤทธิ์พิเชษฐ์ ปิยะวุฒิ พูลสงวน สมยศ พุทธเจริญ จำลอง เจียมจำนรรจา ลมัย ศรีจันทร์ดี และวิทยา แสงแก้วสุข. 2529. ความสำคัญทางเศรษฐกิจของโรคใบจุดสีน้ำตาลของมันสำปะหลังในประเทศไทย. ใน การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 24. </ref>) โรคนี้ทำให้ใบของมันสำปะหลังร่วงก่อนกำหนดเป็นผลให้วัชพืชขึ้นแก่งแย่งแข่งขันได้ดี ทำให้มันสำปะหลังสร้างหัวใต้ดินน้อย และผลผลิตลดลงในที่สุด โรคใบจุดสีน้ำตาลแสดงอาการผิดปกติเฉพาะส่วนใบเท่านั้น พบอาการใบจุดในตำแหน่งของใบที่อยู่ด้านล่างมากกว่าใบที่อยู่ด้านบน โดยแสดงอาการผิดปกติใน 2 ระยะ คือ ระยะแรกด้านใบมีลักษณะเป็นจุดสีน้ำตาลค่อนข้างเหลี่ยมตามเส้นใบ มีขอบชัดเจน และเมื่อสังเกตด้านหลังใบพบจุดแผลมีสีเทา เนื่องจากเส้นใยของเชื้อขึ้นปกคลุมส่วนใน ระยะที่สองปรากฏขอบแผลสีเหลืองรอบจุดสีน้ำตาลและ ถ้ารุนแรงขึ้นตรงกลางแผลมีอาการแห้งและหลุดออกเป็นรูกลวง (ศานิต, 2557<ref>ศานิต สวัสดิกาญจน์. 2557. พืชอุตสาหกรรม(Industrial Field crops). โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์. กรุงเทพมหานคร.</ref>) | ||
== ลักษณะอาการ == | == ลักษณะอาการ == | ||
โดยทั่วไปต้นที่เป็นโรคมีการเจริญเติบโตเป็นปกติ จะพบอาการของโรคบนใบล่างๆ มากกว่าใบบนซึ่งมีอายุน้อยกว่า มีรายงานว่าใบมันสำปะหลังอายุ 5 - 15 วัน จะทนทานต่อการเกิดโรค และจะอ่อนแอ พบเป็นโรคเมื่ออายุ 25 วันขึ้นไป โดยเกิดอาการใบจุดค่อนข้างเหลี่ยมตามเส้นใบมีความสม่ำเสมอ สีน้ำตาล ขนาด 3 - 15 มิลลิเมตร มีขอบชัดเจนจุดแผลด้านหลังใบมีสีเทา เนื่องจากมีเส้นใยและส่วนขยายพันธุ์ (fruiting bodies) ของเชื้อสาเหตุในพันธุ์ที่อ่อนแอต่อโรค แผลจะล้อมรอบด้วยวงสีเหลือง (yellow halo) และตรงกลางแผลอาจจะแห้งและหลุดเป็นรู (รัตติกาล และณัฐวุฒิ, 2555) | โดยทั่วไปต้นที่เป็นโรคมีการเจริญเติบโตเป็นปกติ จะพบอาการของโรคบนใบล่างๆ มากกว่าใบบนซึ่งมีอายุน้อยกว่า มีรายงานว่าใบมันสำปะหลังอายุ 5 - 15 วัน จะทนทานต่อการเกิดโรค และจะอ่อนแอ พบเป็นโรคเมื่ออายุ 25 วันขึ้นไป โดยเกิดอาการใบจุดค่อนข้างเหลี่ยมตามเส้นใบมีความสม่ำเสมอ สีน้ำตาล ขนาด 3 - 15 มิลลิเมตร มีขอบชัดเจนจุดแผลด้านหลังใบมีสีเทา เนื่องจากมีเส้นใยและส่วนขยายพันธุ์ (fruiting bodies) ของเชื้อสาเหตุในพันธุ์ที่อ่อนแอต่อโรค แผลจะล้อมรอบด้วยวงสีเหลือง (yellow halo) และตรงกลางแผลอาจจะแห้งและหลุดเป็นรู (รัตติกาล และณัฐวุฒิ, 2555<ref>รัตติกาล สู้ภัยพาล และ ณัฐวุฒิ ศิริมานะ. 2555. การประเมินระดับความรุนแรงของโรคพืชด้วยการวิเคราะห์ภาพ. โครงงานวิศวกรรมเกษตร. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน, นครปฐม</ref>) | ||
เชื้อรา ''C. henningsii'' มี perfect stage ที่ชื่อว่า ''Mycosphaerella henningsii'' ลักษณะสำคัญของเชื้อรานี้ สร้างก้านชูสปอร์ (conidiophores) เกิดเป็นกลุ่มเกาะกันอยู่ ก้านสปอร์มีลักษณะรูปร่างเรียวยาว ปลายของก้านชูสปอร์โค้งเล็กน้อย หรือบางครั้งก้านชูสปอร์สามารถแตกแขนงได้ มีสีซีดจางไปจนถึง สีน้ำตาล มีผนังกั้น (septate) ซึ่งมีรอยของ scar เห็นได้ชัด โคนิเดีย (conidia) มีสีซีดจนถึงน้ำตาลอ่อน โคนิเดียมีขนาด 3.5 - 5 x 14 - 18 ไมครอน มี 3 - 7 เซลล์ (Charles, 1953; Pattana ''et al''., 1980; Vasudeva, 1963) | เชื้อรา ''C. henningsii'' มี perfect stage ที่ชื่อว่า ''Mycosphaerella henningsii'' ลักษณะสำคัญของเชื้อรานี้ สร้างก้านชูสปอร์ (conidiophores) เกิดเป็นกลุ่มเกาะกันอยู่ ก้านสปอร์มีลักษณะรูปร่างเรียวยาว ปลายของก้านชูสปอร์โค้งเล็กน้อย หรือบางครั้งก้านชูสปอร์สามารถแตกแขนงได้ มีสีซีดจางไปจนถึง สีน้ำตาล มีผนังกั้น (septate) ซึ่งมีรอยของ scar เห็นได้ชัด โคนิเดีย (conidia) มีสีซีดจนถึงน้ำตาลอ่อน โคนิเดียมีขนาด 3.5 - 5 x 14 - 18 ไมครอน มี 3 - 7 เซลล์ (Charles, 1953<ref>Charles, C. 1953. A monograph of the fungi genus Cercospora. Plant pathology. 667 p.</ref>; Pattana ''et al''., 1980<ref>Pattana, S., P Prapaisri, C. Wirat and G. Piya. 1980. Plant Pathogenic Cercosporae in Thailand. Plant pathology and Microbiology Division Department of Agriculture. Ministry of agriculture and Cooperatives, Bangkok</ref>; Vasudeva, 1963<ref>Vasudeva, R.S. 1963. Indian Cercosporae. Indian Council of Agricultural Research, New Deli.</ref>) | ||
== การแพร่ระบาด == | == การแพร่ระบาด == | ||
เชื้อราสาเหตุของโรคสามารถอาศัยอยู่ได้บนใบมันสำปะหลังที่ร่วงอยู่ในไร่ และจะขยายพันธุ์โดยการสร้างสปอร์ เมื่อมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม สปอร์เหล่านี้จะแพร่กระจายโดยลม หรือน้ำฝนไปตกบนใบปกติ ทำให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคได้ต่อไป สภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการแพร่ระบาดของโรค ได้แก่ ความชื้น อุณหภูมิ และอายุของพืช การสร้างสปอร์หรือโคนิเดีย (spores of conidia) จะเกิดขึ้นเมื่อมีความชื้นสัมพัทธ์ระหว่าง 50-90 เปอร์เซ็นต์ และอุณหภูมิที่ทำให้สปอร์งอกได้ดีที่สุดอยู่ระหว่าง 39-43 องศาเซลเซียส ดังนั้นเราจึงสามารถพบโรคใบจุดสีน้ำตาลในพื้นที่ที่มีสภาพความชื้นต่ำและแห้งแล้งได้ โดยปกติโรคจะส่งผลกระทบต่อผลผลิตไม่มาก แต่กรณีที่เกิดโรครุนแรงอาจมีผลกระทบต่อพันธุ์อ่อนแอ การศึกษาความต้านทานของมันสำปะหลังต่อโรคใบจุดสีน้ำตาลพบว่า พันธุ์ ระยอง 90 และ ห้วยบง 60 มีความต้านทานต่อโรคใบจุดสีน้ำตาลมากกว่าพันธุ์ เกษตรศาสตร์ 50, ห้วยบง 80, MCKU 34-114-235, MCKU 34-114-245, ระยอง 1, ระยอง 5, ระยอง 60 และระยอง 72 ซึ่งมีความต้านทานโรคในระดับปานกลาง และมีรายงานว่าโรคนี้ทำให้ผลผลิตลดลง 14-20 เปอร์เซ็นต์ในพันธุ์ระยอง 1 เนื่องจากทำให้ใบมันสำปะหลังร่วงเร็วกว่าปกติ นอกเหนือจากมันสำปะหลังแล้ว เชื้อโรคนี้ยังสามารถอาศัยในพืชอื่นได้ เช่น ''M. glaziovii M. piauhynsis'' และ มันเทศ (''Ipomoea batatas'') | เชื้อราสาเหตุของโรคสามารถอาศัยอยู่ได้บนใบมันสำปะหลังที่ร่วงอยู่ในไร่ และจะขยายพันธุ์โดยการสร้างสปอร์ เมื่อมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม สปอร์เหล่านี้จะแพร่กระจายโดยลม หรือน้ำฝนไปตกบนใบปกติ ทำให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคได้ต่อไป สภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการแพร่ระบาดของโรค ได้แก่ ความชื้น อุณหภูมิ และอายุของพืช การสร้างสปอร์หรือโคนิเดีย (spores of conidia) จะเกิดขึ้นเมื่อมีความชื้นสัมพัทธ์ระหว่าง 50-90 เปอร์เซ็นต์ และอุณหภูมิที่ทำให้สปอร์งอกได้ดีที่สุดอยู่ระหว่าง 39-43 องศาเซลเซียส ดังนั้นเราจึงสามารถพบโรคใบจุดสีน้ำตาลในพื้นที่ที่มีสภาพความชื้นต่ำและแห้งแล้งได้ โดยปกติโรคจะส่งผลกระทบต่อผลผลิตไม่มาก แต่กรณีที่เกิดโรครุนแรงอาจมีผลกระทบต่อพันธุ์อ่อนแอ การศึกษาความต้านทานของมันสำปะหลังต่อโรคใบจุดสีน้ำตาลพบว่า พันธุ์ ระยอง 90 และ ห้วยบง 60 มีความต้านทานต่อโรคใบจุดสีน้ำตาลมากกว่าพันธุ์ เกษตรศาสตร์ 50, ห้วยบง 80, MCKU 34-114-235, MCKU 34-114-245, ระยอง 1, ระยอง 5, ระยอง 60 และระยอง 72 ซึ่งมีความต้านทานโรคในระดับปานกลาง และมีรายงานว่าโรคนี้ทำให้ผลผลิตลดลง 14-20 เปอร์เซ็นต์ในพันธุ์ระยอง 1 เนื่องจากทำให้ใบมันสำปะหลังร่วงเร็วกว่าปกติ นอกเหนือจากมันสำปะหลังแล้ว เชื้อโรคนี้ยังสามารถอาศัยในพืชอื่นได้ เช่น ''M. glaziovii M. piauhynsis'' และ มันเทศ (''Ipomoea batatas'') (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556<ref>มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.</ref>) | ||
== การป้องกันกำจัด == | == การป้องกันกำจัด == | ||
ใช้สารเคมี เช่น สารประกอบทองแดง (copper compound) หรือสารเบโนมิล (benomyl) พ่นให้ทั่วบริเวณที่เป็นโรคอย่างน้อย 1-2 ครั้ง เพื่อลดการระบาดของโรค การใช้พันธุ์ต้านทาน และควรกำจัดใบที่เป็นโรคออกจากแปลง | ใช้สารเคมี เช่น สารประกอบทองแดง (copper compound) หรือสารเบโนมิล (benomyl) พ่นให้ทั่วบริเวณที่เป็นโรคอย่างน้อย 1-2 ครั้ง เพื่อลดการระบาดของโรค การใช้พันธุ์ต้านทาน และควรกำจัดใบที่เป็นโรคออกจากแปลง | ||
[[หมวดหมู่:โรค]] | [[หมวดหมู่:โรค]] |
การแก้ไข